Realize and Accept for self regulation only for individuality right,on next regulation for public threaten right ,it must be use rule of law...
differential for how much about damage..
http://keepingitpersonal.com/2012/07/grow-in-self-discipline/
http://www.discipline.eu/eu/
มาตรการเสริมสร้าง |
คุณธรรม จริยธรรม และ |
จรรยาข้าราชการ |
๑.ด้านการปฏิบัติหน้าที่ |
ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและ |
มีความรับผิดชอบ |
๒.ด้านการรับฟังความคิด |
เห็นของผู้อื่น เคารพสิทธิ |
เสรีภาพ และให้เกียตริ |
ประชาชน |
๓.ด้านการมีจิตสาธารณะ |
มุ่งมั่น เสียสละ อุทิศตน |
เพื่อสังคมและชุมชน |
ร่าง
พระราชกฤษฎีกา
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้าราชการพลเรือนสามัญ
พ.ศ. ....
________________
...................................
ให้ไว้ ณ วันที่ .................................... พ.ศ. ....
เป็นปีที่ .. ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ
รวมกลุ่มข้าราชการพลเรือนสามัญ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเป็นกฎหมายที่มี
บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ
มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ
ให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
พระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชกฤษฎีกานี้
“ข้าราชการ” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนสามัญ
๒
“สหภาพข้าราชการ” หมายความว่า คณะหรือกลุ่มข้าราชการที่จัดตั้งขึ้นโดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อใช้สิทธิร่วมกันในการคุ้มครองและปกป้องผลประโยชน์ของสมาชิกซึ่งเป็น
ข้าราชการ
“ผู้บริหาร” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทบริหารตามกฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
“นายทะเบียน” หมายความว่า เลขาธิการ ก.พ. หรือผู้ซึ่งเลขาธิการ ก.พ. มอบหมาย
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
หมวด ๑
บททั่วไป
__________________
ม
http://www.personel.cdd.go.th/
http://www.sut.ac.th/im/618241-BASIC_OCC/leson%2010-1.htm
วินัยและระบบพิทักษ์
ระบบคุณธรรม | |
---|---|
มาตรการจูงใจผู้แจ้งข้อมูล | |
เบาะแสการทุจริต | |
ระบบการรับเรื่องร้องทุกข์ | |
พัฒนาชุมชนใสสะอาด | |
แผนแม่บทด้านการเสริม | |
ความเสมอภาคชายหญิง | |
แผนปฏิบัติการป้องกันและ | |
ปราบปรามการทุจริตฯ |
ชื่อเรื่อง รายงานการส ารวจสถานภาพจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
ชื่อผู้วิจัย ดร.ขนิษฐา สารพิมพา
ปีที่ท ำวิจัย พ.ศ. ๒๕๕๔
หน่วยงำนเจ้ำของเรื่อง ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ส านักงาน ก.พ.
การศึกษาวิจัยในโครงการ “ส ารวจสถานภาพจริยธรรมข้าราชการพลเรือน” ประจ าปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๔ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าข้าราชการรับรู้เกี่ยวกับเนื้อหาและแนวทางด าเนินการตามประมวล
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน (ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์๒๕๕๓) เพียงใด ข้าราชการมีพฤติกรรม
ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนเพียงใด รวมทั้งมีความคิดเห็นต่อสถานการณ์ทางจริยธรรมภายใน
หน่วยงานเป็นอย่างไร เพื่อประโยชน์ต่อการส่งเสริมจริยธรรมให้ตรงกับสถานภาพ ความเป็นจริงในระบบ
ราชการทั้งระดับบุคคลและองค์กร และสามารถน าผลที่ได้รับไปวางแผนและก าหนดแนวทางการส่งเสริมและ
พัฒนาจริยธรรมข้าราชการต่อไปในอนาคต วิธีการด าเนินการได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวม
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ๓๗,๘๑๔ คน แยกรายกรมตามสูตรของ Krejcie and Morgan โดยการส่ง
แบบสอบถามไปยังส่วนราชการต่างๆทั่วประเทศและจัดท าเป็น E-survey เพื่อให้ข้าราชการตอบแบบส ารวจ
ทางอินเทอร์เนต และน ามาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS รวมทั้งสิ้น ๒๓,๔๗๖ ตัวอย่าง (ร้อยละ ๖๒.๑)
ผลการวิจัยปรากฏว่า
๑. ด้านการรับรู้ ข้าราชการพลเรือนกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือน
ร้อยละ ๔๕.๗๒ กรมที่รับรู้เนื้อหาได้ถูกต้องมากกว่า ๕๐% มีจ านวน ๒๗ กรมจากจ านวน ๑๒๑ กรม
กระทรวงที่รับรู้เนื้อหาได้ถูกต้องมากที่สุด คือ กระทรวงมหาดไทย รับรู้เฉลี่ยร้อยละ ๕๑.๖๕ ส่วนกรมที่รับรู้
มากที่สุดได้แก่ กรมที่ดิน รับรู้เฉลี่ยร้อยละ ๕๙.๐๑ โดยมีประเด็นที่รับรู้ถูกต้องมากที่สุดได้แก่ การไม่แสวงหา
ประโยชน์ในทางมิชอบ : ข้าราชการสามารถรับของขวัญที่มีมูลค่าเกินกว่าที่กฎหมายก าหนดได้ในกรณีใด
รองลงมาคือ การรับรู้เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อหน้าที่ : เมื่อผู้บังคับบัญชาสั่งราชการด้วยวาจาในเรื่องที่อาจ
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ท่านต้องท าอย่างไร และอันดับที่ ๓ คือ การรับรู้ว่าประมวลจริยธรรม
ข้าราชการพลเรือนจัดท าขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐
๒. ด้านทัศนคติ ข้าราชการพลเรือนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า สถานการณ์ทางจริยธรรมในส่วนราชการ
เรียกว่า “ดีอยู่ในระดับที่พอรับได้” มากที่สุด (หรือ ๔ คะแนนจาก ๕ คะแนน) โดยหน่วยงานที่ได้รับคะแนน
สถานการณ์ทางจริยธรรมสูงสุด ได้แก่ กระทรวงยุติธรรม คะแนนเฉลี่ย ๓.๖๒ และหน่วยงานระดับกรมที่ได้รับ
คะแนนสูงสุด ได้แก่ กรมคุมประพฤติ คะแนนเฉลี่ย ๔.๐๒ โดยมีความพึงพอใจต่อสถานการณ์ในหน่วยงาน
ตามประมวลจริยธรรมในระดับปานกลางในเรื่องการยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข : ให้ความส าคัญในการเคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นอย่างเสมอภาค มากที่สุด
รองลงมาได้แก่ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน : รักษาคุณภาพและมาตรฐานแห่งวิชาชีพ ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า
ท างานเต็มความรู้ควท างานเต็มความรู้ความสามารถ และอันดับสาม ได้แก่ ความพึงพอใจต่อสถานการณ์เรื่อง การปฏิบัติตาม
กฎหมายข้อมูลข่าวสารของทางราชการ : ไม่ถ่วงเวลาให้ข้อมูลครบถ้วนไม่บิดเบือน ไม่ใช้ข้อมูลในการอื่น๒
ที่เอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเอง เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น และสถานการณ์เรื่องการเคารพและปฏิบัติ
ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ไม่หลีกเลี่ยงหรือใช้ช่องว่างในทางที่ไม่ถูกต้อง
ส าหรับสถานการณ์ที่มีความพึงพอใจน้อยกว่าด้านอื่นๆ ได้แก่ เรื่องการยึดมั่นกระท าในสิ่งที่
ถูกต้องและจรรยาวิชาชีพ : ความเป็นอิสระในการตัดสินใจยืนหยัดที่จะปฏิบัติราชการโดยยึดถือความถูกต้องชอบ
ธรรมแม้ว่าจะขัดกับความต้องการของผู้บังคับบัญชา
๓. ด้านพฤติกรรม ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการพลเรือนส่วนใหญ่ประเมินตนเองกับการปฏิบัติตาม
ประมวลจริยธรรมในระดับดีมาก ส าหรับหน่วยงานระดับกระทรวงที่มีคะแนนประเมินตนเองในการปฏิบัติตาม
จริยธรรมดีที่สุด ได้แก่ กระทรวงยุติธรรม คะแนนเฉลี่ย ๔.๒๑ หน่วยงานระดับกรมที่มีคะแนนประเมินตนเอง
ในด้านการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมดีที่สุด ได้แก่ กรมคุมประพฤติ คะแนนเฉลี่ย ๔.๔๔ โดยมีพฤติกรรม
ในเรื่องการไม่แสวงหาประโยชน์ในทางมิชอบ การเสนอหรืออนุมัติโครงการหรือด าเนินการซึ่งตนเองหรือบุคคล
อื่นจะได้ประโยชน์อันมิควรได้มากที่สุด ส าหรับเรื่องที่มีพฤติกรรมน้อยที่สุด คือการยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง
โดยเฉพาะเรื่องการทักท้วงเมื่อพบเห็นผู้ละเมิดจริยธรรม
๔. การประเมินจริยธรรมของผู้น าและส่วนราชการในรอบปีที่ผ่านมา พบว่า ข้าราชการพลเรือน
ให้คะแนนผู้น าในระดับปานกลาง โดยหัวหน้าส่วนราชการเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องจริยธรรมมากกว่า
พฤติกรรมด้านอื่นๆ เช่น ให้ความสนใจปัญหาจริยธรรมอยู่เสมอ และแสดงความรับผิดชอบเมื่อมีการร้องเรียน
ส่วนราชการกับการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนในรอบปีที่ผ่านมา พบว่า
มีการปฏิบัติตามแนวทางที่ก าหนดในประมวลจริยธรรมในระดับค่อนข้างน้อย ประเด็นที่หน่วยงานมีการปฏิบัติ
มากที่สุดคือ การชมเชยหรือให้รางวัล เมื่อมีบุคลากรปฏิบัติงานดีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับจริยธรรมและ
น าความคิดเห็นนั้นมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน และมีการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อพัฒนาจริยธรรมของข้าราชการ
ประเด็นที่พบว่าส่วนราชการยังมีการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมในระดับน้อย
ได้แก่ การเผยแพร่ให้คู่สมรส ญาติ พี่น้อง เพื่อนฝูงของข้าราชการทราบ การมีผู้ที่เกี่ยวข้องอธิบายให้ค าปรึกษา
เกี่ยวกับจริยธรรมเมื่อไม่เข้าใจ และมีการจัดตั้งเครือข่ายเพื่อส่งเสริมจริยธรรมของบุคลากร โดยข้าราชการกลุ่ม
ตัวอย่างแสดงความเห็นวต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์เรื่องนี้ให้เด่นชัดและแพร่หลาย ให้มีความเข้าใจ
ชัดเจนมากขึ้น
๕. การแก้ไขปัญหา เมื่อเกิดปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมกับตัวข้าราชการ พบว่า ข้าราชการพลเรือน
มีแนวโน้มทางเลือกแก้ไขปัญหาของตนเอง คือ การปรึกษา พูดคุยกับเพื่อนร่วมงานมากที่สุด รองลงมาคือ
ปรึกษา พูดคุยกับผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไป และอันดับสามคือ ปล่อยวาง นิ่งเฉย
ส าหรับแนวโน้มที่ยังไม่เป็นทางเลือกของข้าราชการเมื่อเกิดปัญหาจริยธรรม คือการพูดคุย
ร้องเรียนกับสื่อมวลชน รองลงมาคือ การพูดคุย ร้องเรียนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส านักงาน ก.พ. ป.ป.ช.
นักการเมือง เป็นต้น และอันดับที่สามคือ การพูดคุย ร้องเรียนกับคณะกรรมการจริยธรรม
จากทางเลือกของการแก้ไขปัญหาดังกล่าว สะท้อนถึงการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดความผิดพลาด
ในทางหนึ่ง เนื่องจากอาจจะได้รับค าปรึกษาที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง และอีกทางหนึ่ง สะท้อนให้เห็นว่า
การท างานของคณะกรรมกรรมจริยธรรมยังไม่ส่งผลต่อความเชื่อถือของข้าราชการอย่างแท้จริง จึงเกิดการให้๓
ความส าคัญกับการปรึกษาพูดคุยกับบุคคลที่มีความใกล้ชิดและมีความน่าไว้วางใจของตัวข้าราชการมากกว่า
คณะกรรมการจริยธรรมหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
แนวทางการแก้ปัญหาจริยธรรมของหน่วยงานของท่าน พบว่า มีการแก้ปัญหาโดยรณรงค์
ปลูกจิตส านึกให้ข้าราชการปฏิบัติตามค่านิยมหลักของส่วนราชการมากที่สุด รองลงมาได้แก่ การปรับปรุง
แก้ไขกฎระเบียบ ขั้นตอนของระบบราชการให้เปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้ และอันดับสามได้แก่ จัดหลักสูตร
ให้เข้าอบรมสัมมนาอย่างเข้มข้น
ส าหรับแนวทางการส าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบน้อยที่สุด ได้แก่ แจ้งให้คณะกรรมการจริยธรรมทราบ
เพื่อด าเนินการต่อไป รองลงมาได้แก่ ลงโทษทันที เช่น ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ ไล่ออก ปลดออกและ
อันดับสามคือ มีระบบให้สาธารณะมีส่วนร่วมในการกระตุ้นเตือน เฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบ
จะเห็นได้ว่า การเตรียมพร้อมรับมือกับปัญหาทางจริยธรรมของหน่วยงานส่วนใหญ่ยังคงเป็น
การรณรงค์ปลูกจิตส านึกมากกว่าการใช้กลไกคณะกรรมการจริยธรรม ซึ่งมีบทบาทหน้าที่โดยตรง และแนวทาง
การรณรงค์ที่ยังไม่เห็นภาพที่ชัดเจน ส าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาอื่นๆ ได้แก่ คุยกันในครอบครัว ใช้หลักศาสนา
มองข้อบกพร่องของตนเอง ศึกษาจากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น
ส าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานในข้ออื่นๆ ได้แก่ การเข้าอบรม การท าหนังสือแจ้งเวียน
เอกสารชี้แจง และไม่พบว่ามีกิจกรรมเด่นชัดในการแก้ไขปัญหาในหน่วยงาน ควรให้ท าประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ
ส่วนการแก้ปัญหาที่หน่วยงานยังไม่ได้ท าหรือยังท าน้อยที่สุด ได้แก่ แจ้งให้คณะกรรมการ
จริยธรรมทราบเพื่อด าเนินการต่อไป รองลงมาคือ การลงโทษทันที และอันดับสามคือ การมีระบบให้สาธารณะ
มีส่วนร่วมในการกระตุ้นเตือน เฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ
http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/files/BRD_Reserch/thesis%20knowledge/18_Feb_2013/180213.pdf
ชื่อเรื่อง วัฒนธรรมองค์กรกับการจัดตั้งสหภาพข้าราชการไทย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวนภาพร สิงห์นวล
ปีที่ท ำวิจัย สารนิพนธ์ระดับปริญญาโทที่ได้รับทุนมูลนิธิพันเอกจินดา ณ สงขลา ประจ าปี พ.ศ. 2553
หน่วยงำนเจ้ำของเรื่อง ส านักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล ส านักงาน ก.พ.
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อการจัดตั้งสหภาพ
ข้าราชการไทย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากร คือ ผู้อ านวยการ
กองการเจ้าหน้าที่ระดับกรมทั่วประเทศ จ านวน 122 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติ t-test และ F-test โดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
(One-way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า มิติของวัฒนธรรมองค์กรมีผลต่อการจัดตั้งสหภาพข้าราชการไทยทั้ง 4 มิติ
ดังนี้ 1) มิติความเป็นเพศชาย/ความเป็นเพศหญิง มีผลต่อการจัดตั้งสหภาพข้าราชการไทยมากที ่สุด
(F = 13.886) 2) มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (F = 8.294) 3) มิติความเป็นปัจเจกบุคคล/ความเป็น
กลุ่มนิยม (F = 7.375) และ 4) มิติความเหลื่อมล้ าของอ านาจ (F = 2.320) ตามล าดับ
การจัดตั้งสหภาพข้าราชการไทยมีความเป็นไปได้ในระดับสูง โดยพบว่า การจัดตั้งสหภาพ
ข้าราชการไทยตามแนวทางการยอมรับสิทธิในการรวมตัวกันของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐอื่นๆ และการ
ใช้มาตรการอื่นอย่างมีเงื่อนไข คือ ต้องไม่กระทบผลประโยชน์สาธารณะ มีความเป็นไปได้มากที่สุด
( X = 3.85) รองลงมา คือ แนวทางการยอมรับสิทธิในการรวมตัวกันและสนับสนุนอย่างเต็มที่ ( X = 3.27)
และแนวทางที่มีความเป็นไปได้น้อยที่สุด คือ แนวทางการไม่ยอมรับสิทธิในการรวมตัวกัน รวมทั้งไม่ยอมให้ใช้
สิทธิเพื่อเรียกร้องความคุ้มครองในทางอื่น เช่น การยื่นข้อร้องเรียน การเจรจาต่อรอง หรือการนัดหยุดงานด้วย
( X = 2.30)
http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/files/BRD_Reserch/thesis%20knowledge/11_Jan_2013/15_2553.pdf
คุณธรรมจริยธรรม
ประเทศไทยได้มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็วในช่วง ๔๐ ปีที่ผ่านมา จนหลายคนคิดว่าประเทศไทยได้ก้าวพ้นความยากจนและกำลังก้าวสู่ประเทศที่พัฒนา แล้ว แต่เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี ๒๕๔๐ ทุกคนจึงตื่นจากความหลงผิดและพบว่าสังคมไทยยังอ่อนด้อยในเกือบทุกเรื่อง แม้แต่ในด้านศีลธรรมที่เคยเป็นจุดแข็งของสังคมไทย ก็มีจุดอ่อนและบกพร่องอีกมาก การทุจริตประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำ ให้เกิดภาวะวิกฤตดังกล่าว ใน ชั่วข้ามคืนประเทศไทยได้เปลี่ยนจากประเทศที่เคยมีเงินตราต่างประเทศสำรอง กลับกลายเป็นประเทศที่มีหนี้ต่างประเทศจำนวนเกือบ ๓ ล้านล้านบาท สถาบันการเงินและบริษัทเอกชนหลายแห่งต้องปิดกิจการหรือล้มละลายไป คนไทยจำนวนมากตกงานและสูญเสียทรัพย์สินที่ได้สะสมมาตลอดชีวิตการทำงาน ซึ่งผลกระทบจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจดังกล่าวได้ ก่อให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพกายและใจของคนไทยทั้งประเทศอย่างรุนแรง ประชาชนรู้สึกขาดความเชื่อมั่นในการทำงานของภาครัฐและระบบการเมืองจนกลาย เป็นปัญหาวิกฤตศรัทธา และยากต่อการดูแลรักษากฎหมายของบ้านเมือง
จากผลการวิจัยการสำรวจความคิดเห็นเรื่องคอร์รัปชันที่จัดขึ้นโดยสำนักงาน ก.พ. พบว่า หัวหน้าครัวเรือนเห็นว่าการทุจริตประพฤติมิชอบเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ อันดับที่สามรองจากปัญหาเศรษฐกิจและความยากจน ผู้ประกอบการเห็นว่า การทุจริตประพฤติมิชอบเป็นอุปสรรคที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของธุรกิจ รองมาจากผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยร้อยละ ๗๙ ของผู้ประกอบการยอมรับว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ธุรกิจต้องจ่ายค่าสินบนให้ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างสะดวก โดยเห็นว่าภาครัฐส่วนใหญ่ต้องมีการหยอดน้ำมันด้วย “เงินและผลประโยชน์” งานจึงจะสำเร็จได้ แม้ข้าราชการเองก็ยังคิดว่าการทุจริตประพฤติมิชอบเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ในสังคมและเป็นเรื่องปกติทั่วไป โดยร้อยละ ๔๙ ยอมรับว่ารู้ว่ามีการซื้อขายตำแหน่งในวงราชการ ทั้งนี้ มีข้าราชการเพียงร้อยละ ๒๔ เท่านั้นที่เห็นว่ารัฐมีความตั้งใจจริงที่จะต่อสู้กับปัญหาการทุจริต คอร์รัปชันในภาคราชการ
รัฐบาลชุดที่ผ่านมาแสดงเจตนารมณ์ชัดเจนที่จะ ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาคราชการ และเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปฏิรูประบบบริหารราชการโดยการปรับปรุงคุณภาพข้าราชการในการทำงานโดย เน้นผลงาน การมีคุณภาพ ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตสำนึกในการให้บริการประชาชน และที่สำคัญ รัฐบาลชุดปัจจุบันภายใต้การนำของ พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาคอร์รัปชันโดยประกาศเป็นหนึ่งในสามนโยบายหลัก ของรัฐบาล ควบคู่กับการแก้ไขปัญหาความยากจนและปราบปรามยาเสพติด
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาด เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2543 โดยให้กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของราชการ ประกาศเป็นแผนระดับประเทศ และให้ถือว่าการทุจริตคอร์รัปชันเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐจัดให้มีกลไกภายในเพื่อสร้างความใสสะอาดและโปร่งใสในการ ปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด แผนกลยุทธ์หน่วยงานใสสะอาด และรายงานผลการดําเนินการเสนอคณะรัฐมนตรีเป็นรายปี คณะรัฐมนตรีใน คราวการประชุม เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2547 และวันที่ 2 พฤศจิกายน 2547 เห็นชอบมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในวงราชการ และแนวทางดําเนินการในการพัฒนาระบบ ราชการ และมอบหมายให้สํานักงาน ก.พ. เป็นเจ้าภาพหลักการสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติงาน การรณรงค์ และส่งเสริมค่านิยมรักความซื่อสัตย์ สุจริต การสนับสนุนภาคประชาชนให้มีส่วนร่วม
นอกจากนี้ แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 – 2551 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6ง. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้กําหนดเป้าหมายประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ คือ ประชาชนมีความเชื่อถือในกลไกภาครัฐสูงขึ้น หน่วยงานภาครัฐทุกระดับมีการปฏิบัติงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้โดยมอบหมายให้สํานักงาน ก.พ. เป็นเจ้าภาพกลยุทธ์หลักสนับสนุนให้ภาคประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐมีค่านิยมและ ร่วมกันต่อต้านทุจริต พัฒนาความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความหมาย ขอบเขต และความสำคัญของการจัดบริการอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย หมายถึง
- การดำเนินการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
- การบริการที่จัดขึ้นในสถานประกอบการโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมและดำรงไว้ ซึ่งสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้ประกอบอาชีพ รวมทั้งการควบคุมโรคตลอดจนอันตราย อันเกิดจากอุปกรณ์และเครื่องจักรในการปฏิบัติงาน
ขอบเขตการบริการอาชีวอนามัย
WHO, ILO ควรจะประกอบด้วยงาน 5 อย่าง
1. การส่งเสริมสุขภาพ และดำรงไว้ซึ่งความมีสุขภาพดี 2. การป้องกันโรคอันเนื่องจากการทำงาน 3. การปกป้องคุ้มครองคนทำงานหรือลูกจ้างไม่ให้ทำงานที่เสี่ยงอันตราย 4.จัดคนงานให้ทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับความสามารถของร่างกาย และจิตใจ 5.ปรับงานให้เหมาะสมกับคน และปรับคนให้เหมาะสมกับสภาพการทำงาน
องค์ประกอบของการจัดบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
1. กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพในการทำงาน
2. นโยบายของสถานประกอบการ 3. ประเภทและขนาดของกิจการ 4. ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวเวชศาสตร์
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
- กำหนดให้ งานอุตสาหกรรม ทำงานได้ไม่เกินสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง งานขนส่ง ทำงานได้ไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง
- ให้มีวันหยุดสัปดาห์ละ 1 วัน วันหยุดตามประเพณีปีละ 13 วันรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย - ถ้าทำงานครบ 1 ปีอาจลาหยุดพักผ่อนได้ปีละ 6 วันทำงาน - ทำงานวันละ 8 ชม. ถ้าเกินคิด OT การคุ้มครองความปลอดภัย การป้องกันอันตราย เช่น เสียงดังไม่เกิน 90 dBA, สารตะกั่วในอากาศไม่เกิน 0.2 มก./ลบ.ม.ใน 8 ชั่วโมง เป็นต้นให้มีสวัสดิการด้านรักษาพยาบาล
พรบ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
- จะกำหนดเกี่ยวกับค่าแรง การจ้าง/การเลิกจ้าง ถ้าเป็นเรื่องที่ตั้ง จะเป็น พรบ.ผังเมือง, พรบ.ที่ดิน การจัดให้มี Buffer Zone โดยกระทรวงมหาดไทย ก่อสร้างอาคาร โดยกฎหมาย พรบ.อาคาร พ.ศ.2520 กระทรวงมหาดไทย การใช้สอยโดยกฎหมาย พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 *พรบ.สถานพยาบาล, พรบ.โรงแรม
- การจ้างงานโดย กฏหมายคุ้มครองแรงงาน, พรบ.แรงงานสัมพันธ์ การใช้วัสดุ โดย พรบ.วัตถุอันตราย
พรบ.เงินทดแทน (นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน)
ค่ารักษาพยาบาลการเจ็บป่วยจากการทำงาน การจ้างส่วนใหญ่คิดเป็นรายวัน ค่าทดแทนการเสียรายได้ 60% ค่าทดแทนการเสียอวัยวะ, ทุพพลภาพจ่ายไม่เกิน 15 ปี, ค่าเสียชีวิต
พรบ.ประกันสังคม
(นายจ้าง1.5% ลูกจ้าง1.5% รัฐ 1.5%)
ค่ารักษาพยาบาลการเจ็บป่วยไม่ใช่จากการทำงาน ค่าทำคลอด ค่าชดเชยการเสียรายได้ 50%
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103 พ.ศ.2515
- คนงาน 10 คน ต้องจัดให้มี First Aids kit
- คนงาน 50 คน ต้องจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครอง - คนงาน 100 คน ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย - คนงาน 200 คน ต้องจัดให้มีห้องพยาบาล พยาบาลประจำ 1 คน, แพทย์ 1คนตรวจรักษาเป็นครั้งคราว - คนงาน 1,000 คน ต้องจัดให้มีสถานพยาบาลพร้อมเตียงพักคนไข้ 1 เตียง - คนงาน มากกว่า1,000 คน ต้องจัดให้มีสถานพยาบาลพร้อมเตียงพักคนไข้ 2 เตียง - พยาบาลประจำ 2 คน, แพทย์ 1 คนประจำเวลาทำงานปกติอย่างน้อย 2 ชั่วโมง |
What bridges the gap between goals and accomplishments? DISCIPLINE
It’s that simple, right?
Self-discipline is what makes everything possible in life. I’ve heard it said, “Regret weighs tons, but discipline weighs ounces.” I agree with that wholeheartedly when. I. look. back. But, when I’m living in the moment — doing what I know needs to be done can cause me extreme amounts of pain.
So, whether I feel like it or not. I do it…
…even though I don’t want to. {grrrr}
As I do this, I grow in self-discipline. Why? Because what is fed grows. We can develop this skill, this virtue in our lives. We can learn to be clear, focused, and disciplined to accomplish anything we want in life.
step-by-step…day-by-day
What area{s} of your life could benefit by growin