convenient and divergence technology
when your government got fee or tax incomes from your innovation business on HIGHEST GDP EARNING?
http://copyright.gov/about/fees.html
Basic Registrations
Registrations online Single Application (single author, same claimant, one work, not for hire) Standard Application (all other filings) | $35 $55 |
Registrations on paper Paper filing on Form TX, Form VA, Form PA, Form SE, and Form SR | $85 |
Renewal Registrations
For works published or registered before January 1, 1978 Form RE | $100 |
Addendum to Form RE (in addition to fee for claim) | $100 |
Group Registrations
Form SE/Group (serials) (per issue, with minimum 2 issues) | $25 |
Form G/DN (daily newspapers and qualified newsletters) | $80 |
Form GR/PPh/CON (published photographs) (up to 750 published photographs can be identified on form GR/PPh/CON with a single filing fee) | $65 |
Group automated database updates (paper application only) | $85 |
Online registration of groups of published photographs (pilot program, see sl-39) | $55 |
Form GR/CP (contributions to periodicals) | $85 |
Supplementary Registrations
Form CA (to correct or amplify a completed registration) | $130 |
Form DC (to correct a design registration) | $100 |
Preregistration
Preregistration of certain unpublished works | $140 |
Other Registrations
Form D-VH (vessel hull designs) | $400 |
Form GATT | $85 |
Form MW (mask works) | $120 |
http://gazettereview.com/2016/03/bill-gates-net-worth-microsoft-billionaire/
Billionaire programmer turned business magnate, Bill Gates is again the current richest man in the world. He founded Microsoft in 1975 and it has gone on to be the fourth largest software company in the world. He stepped down as CEO of the company in 2008 to focus on his philanthropic work through the Bill and Melinda Foundation. He has vowed to donate more than half of his fortune, and has so far donated $28 billion. He has also convinced many other billionaires to join him in donating huge amounts of money. So how did he make his billions?
Bill Gates Net Worth 2016 – $87.4 Billion
ชงครม.ห้ามภาครัฐซื้อซอฟต์แวร์เอง
วันที่ : 8 มีนาคม 2559 08:57:20
49 อ่าน
| ||
EGA ผุดไอเดีย ให้บริการ SaaS หน่วยงานรัฐ หวังลดค่าใช้จ่าย ลดการละเมิดลิขสิทธิ์ เผยเจรจากับไมโครซอฟท์แล้ว เตรียมนำร่องโปรแกรมออฟฟิศ 365 หากครม.สั่งห้ามภาครัฐจัดซื้อจัดจ้างซอฟต์แวร์เอง พร้อมเดินหน้าทันที ขณะที่โครงการดาต้า เซ็นเตอร์แห่งชาติ ล้ม เหตุดีมานด์ภาครัฐน้อย หวั่นเอกชนไม่คุ้มทุน
นายศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ EGA กล่าวว่า EGA มีแนวคิดที่จะให้บริการ Software as a service (SaaS) กับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้มีซอฟต์แวร์ราคาถูกใช้ในองค์กรและลดการละเมิดลิขสิทธิ์ เนื่องจากปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐมีค่าใช้จ่ายด้านลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์สูง และแต่ละหน่วยงานต่างคนต่างจัดซื้อจัดจ้างจึงมีปริมาณในการซื้อไม่มากพอในการสร้างอำนาจต่อรองราคาให้ถูกลงกว่าเดิม
ทั้งนี้ EGA ได้เริ่มเจรจากับบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยเริ่มที่โปรแกรมออฟฟิศ 365 ก่อน เนื่องจากเป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ทุกหน่วยงานต้องใช้ ซึ่งในเบื้องต้นการเจรจาเป็นไปด้วยดี ดังนั้นขั้นตอนต่อไปคือต้องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อให้สั่งหน่วยงานภาครัฐห้ามจัดซื้อจัดจ้างซอฟต์แวร์เอง เพื่อให้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที เป็นผู้ดำเนินการให้ หากมีปริมาณในการสั่งซื้อจำนวนมากก็จะยิ่งช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองด้านราคาให้ถูกลงจากเดิมที่โปรแกรมออฟฟิศ 365 ของไมโครซอฟท์ อาจจะมีราคาต่อปีอยู่ที่ 1,000 กว่าบาท ต่อการใช้งาน 4-5 เครื่อง ก็อาจจะลดลงเหลือไม่ถึง 1,000 บาท
'EGA จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการเจรจากับเจ้าของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ส่วนโปรแกรมนำร่องกับไมโครซอฟท์จะสามารถทำได้เมื่อไหร่นั้นยังไม่สามารถตอบได้ จำเป็นต้องเสนอครม.ให้ผ่านก่อน เพราะทิศทางการเจรจากับไมโครซอฟท์เป็นไปด้วยดี หากครม.มีคำสั่ง ก็สามารถทำได้เลย'
นายศักดิ์ กล่าวต่อว่า สำหรับความคืบหน้าในโครงการดาต้าเซ็นเตอร์แห่งชาตินั้น ได้ปรับมาเป็นการทำระบบข้อมูลสำรองให้กับหน่วยงานภาครัฐแทน ซึ่ง EGA ให้บริการอยู่แล้ว แต่ยังไม่เป็นภาคบังคับ เนื่องจาก หลังการตรวจสอบข้อมูลหน่วยงานภาครัฐแล้วพบว่าส่วนใหญ่เป็นข้อมูลสำคัญ มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนน้อยมาก ดังนั้นเอกชนจะมาลงทุนโครงการสร้างดาต้า เซ็นเตอร์ จากเดิมที่เคยมีโครงการว่าจะทำ ก็คงไม่คุ้มทุน ดังนั้น EGA จึงจะเปลี่ยนเป็นการทำหน้าที่ออกใบรับรองให้กับเอกชนที่มีดาต้า เซ็นเตอร์ อยู่แล้ว เพื่อให้สามารถให้บริการกับหน่วยงานภาครัฐได้ หากภาครัฐสนใจใช้ของเอกชน
สำหรับ แผนในการสร้างศูนย์สำรองข้อมูล คาดว่าปีนี้ EGA จะมีจุดให้บริการได้ถึง 3 จุด ใน 3 จังหวัด เพราะถึงแม้ว่ารัฐบาลไม่ได้บังคับให้หน่วยงานรัฐนำข้อมูลมาฝากไว้ที่ EGA แต่เรื่องการสำรองข้อมูล EGA ก็หวังว่าหน่วยงานภาครัฐจะหันมาใช้ของ EGA
นายศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ EGA กล่าวว่า EGA มีแนวคิดที่จะให้บริการ Software as a service (SaaS) กับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้มีซอฟต์แวร์ราคาถูกใช้ในองค์กรและลดการละเมิดลิขสิทธิ์ เนื่องจากปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐมีค่าใช้จ่ายด้านลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์สูง และแต่ละหน่วยงานต่างคนต่างจัดซื้อจัดจ้างจึงมีปริมาณในการซื้อไม่มากพอในการสร้างอำนาจต่อรองราคาให้ถูกลงกว่าเดิม
ทั้งนี้ EGA ได้เริ่มเจรจากับบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยเริ่มที่โปรแกรมออฟฟิศ 365 ก่อน เนื่องจากเป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ทุกหน่วยงานต้องใช้ ซึ่งในเบื้องต้นการเจรจาเป็นไปด้วยดี ดังนั้นขั้นตอนต่อไปคือต้องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อให้สั่งหน่วยงานภาครัฐห้ามจัดซื้อจัดจ้างซอฟต์แวร์เอง เพื่อให้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที เป็นผู้ดำเนินการให้ หากมีปริมาณในการสั่งซื้อจำนวนมากก็จะยิ่งช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองด้านราคาให้ถูกลงจากเดิมที่โปรแกรมออฟฟิศ 365 ของไมโครซอฟท์ อาจจะมีราคาต่อปีอยู่ที่ 1,000 กว่าบาท ต่อการใช้งาน 4-5 เครื่อง ก็อาจจะลดลงเหลือไม่ถึง 1,000 บาท
'EGA จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการเจรจากับเจ้าของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ส่วนโปรแกรมนำร่องกับไมโครซอฟท์จะสามารถทำได้เมื่อไหร่นั้นยังไม่สามารถตอบได้ จำเป็นต้องเสนอครม.ให้ผ่านก่อน เพราะทิศทางการเจรจากับไมโครซอฟท์เป็นไปด้วยดี หากครม.มีคำสั่ง ก็สามารถทำได้เลย'
นายศักดิ์ กล่าวต่อว่า สำหรับความคืบหน้าในโครงการดาต้าเซ็นเตอร์แห่งชาตินั้น ได้ปรับมาเป็นการทำระบบข้อมูลสำรองให้กับหน่วยงานภาครัฐแทน ซึ่ง EGA ให้บริการอยู่แล้ว แต่ยังไม่เป็นภาคบังคับ เนื่องจาก หลังการตรวจสอบข้อมูลหน่วยงานภาครัฐแล้วพบว่าส่วนใหญ่เป็นข้อมูลสำคัญ มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนน้อยมาก ดังนั้นเอกชนจะมาลงทุนโครงการสร้างดาต้า เซ็นเตอร์ จากเดิมที่เคยมีโครงการว่าจะทำ ก็คงไม่คุ้มทุน ดังนั้น EGA จึงจะเปลี่ยนเป็นการทำหน้าที่ออกใบรับรองให้กับเอกชนที่มีดาต้า เซ็นเตอร์ อยู่แล้ว เพื่อให้สามารถให้บริการกับหน่วยงานภาครัฐได้ หากภาครัฐสนใจใช้ของเอกชน
สำหรับ แผนในการสร้างศูนย์สำรองข้อมูล คาดว่าปีนี้ EGA จะมีจุดให้บริการได้ถึง 3 จุด ใน 3 จังหวัด เพราะถึงแม้ว่ารัฐบาลไม่ได้บังคับให้หน่วยงานรัฐนำข้อมูลมาฝากไว้ที่ EGA แต่เรื่องการสำรองข้อมูล EGA ก็หวังว่าหน่วยงานภาครัฐจะหันมาใช้ของ EGA
ที่มา Manager Online
http://manager.co.th/CbizReview/ViewNews.aspx?NewsID=9590000024177
No comments:
Post a Comment