Thursday, 1 April 2010

Flower genetic,tradition..Folklore folkway and where is money of our grassroot pocket??????

(ร่าง)


ปรับ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓

081007132406_untitled.bmp

การขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย

นโยบายที่ การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP

...........................

กรมการพัฒนาชุมชน

การขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย

นโยบายที่ การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP

หน้า

๑. กลยุทธ์ กระบวนงาน แผนงาน/โครงการ

๒. โครงการเน้นหนักที่ดำเนินการในปี ๒๕๕๓

๓. แผนการขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย (Action Plan) ๑๐

๔. การติดตาม และรายงานผลการดำเนินงาน ๑๗

๕. Template ตัวชี้วัด ๒๐

๖. กรอบการขับเคลื่อนตัวชี้วัด ๒๔

Text Box: ๑.   กลยุทธ์  กระบวนงาน  แผนงาน/โครงการ


นโยบายที่ การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP

เป้าประสงค์นโยบาย คือ สร้างโอกาสและรายได้ให้กับประชาชน

มีเป้าประสงค์สำคัญ ๒ ประการ คือ

๑. มุ่งหวังให้ชุมชนมีศักยภาพในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและตลาดต้องการ

๒. มุ่งหวังให้ชุมชนมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

เป้าประสงค์ที่ ๑ ชุมชนมีศักยภาพในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและตลาดต้องการ

กลยุทธ์ ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด

กำหนดกระบวนงาน ๔ กระบวนงานคือ ๑) วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ๒) ค้นหาผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ๓) ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ ๔) เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการบริหารจัดการและพัฒนา มีแผนงาน/โครงการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน ๑๐ แผนงาน/โครงการ ได้แก่

๑) ศึกษา และวิเคราะห์แนวโน้มตลาดทั้งในและภายนอก สำหรับผลิตภัณฑ์ OTOP (แผนการตลาด)

๒)

ศึกษาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด

๓)

สำรวจและรวบรวมผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO)

๔) พัฒนาเครือข่ายองค์ความรู้ และภาคีการพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพ

๕) ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy) โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต

๖) สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ OTOP (Design/Packaging/Branding)

๗) เพิ่มขีดสมรรถนะและประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ OTOP ด้านการบริหารจัดการ (แผนธุรกิจและทักษะการบริหารธุรกิจ)

๘) พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

๙) พัฒนาศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร

๑๐) ศึกษา ดูงานและเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับสากล

ตัวชี้วัดและเป้าหมายการดำเนินงาน

๑. กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ เป้าหมาย ปี ๕๓ ดำเนินการ ๕,๐๐๐ กลุ่ม ปี ๕๔-๕๕ ปีละ ๕,๐๐๐ กลุ่ม
รวม ๓ ปี จำนวน ๑๕,๐๐๐ กลุ่ม

๒. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด เป้าหมาย ปี ๕๓ ดำเนินการ ๒,๐๐๐ กลุ่ม ปี ๕๔-๕๕ ปีละ ๒,๐๐๐ กลุ่ม รวม ปี จำนวน ๖,๐๐๐ กลุ่ม

เป้าประสงค์ที่ ๒ ชุมชนมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

กลยุทธ์ ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

กำหนดกระบวนงาน ๔ กระบวนงาน คือ ๑) ส่งเสริมการจัดทำคลังความรู้ ๒) สร้างระบบเครือข่ายการผลิตและตลาด ๓) สร้างช่องทางเจรจาและพัฒนาเทคนิคทางการตลาด และ ๔) ส่งเสริมการเพิ่มช่องทางการตลาด มีแผนงาน/โครงการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน ๑๐ แผนงาน/โครงการ ดังนี้

๑) คลังข้อมูลภูมิปัญญา OTOP

๒) พัฒนาเครือข่าย OTOP สู่ความเข้มแข็ง

๓) จัดตั้งสมาคมผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP

๔) สร้างความร่วมมือส่งเสริมสินค้า OTOP ระหว่างส่วนราชการ/ห้างขายปลีก-ส่ง/แหล่งเงินทุน/ภาคี

๕) ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเพื่อการเจรจาธุรกิจสินค้า OTOP สู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ

๖) จัดให้มีการเจรจาธุรกิจสินค้า OTOP สู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ

๗)

พัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดเชิงรุก (สร้าง Demand)

๘) จัดทำระบบ Website OTOP

๙) พัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้า OTOP ชุมชน/จังหวัด

๑๐)

จัดงานเพิ่มช่องทางการตลาดสินค้า OTOP ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ ส่งเสริมการขายผ่านทางโทรทัศน์ (TV Mahadthai channel)

ตัวชี้วัดและเป้าหมายการดำเนินงาน

๑. จำนวนกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เข้าร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP ปี ๕๓ ดำเนินการ ๑,๒๐๐ กลุ่ม ปี ๕๔-๕๕ ปีละ ๑,๒๐๐ กลุ่ม
รวม ๓ ปี จำนวน ๓,๖๐๐ กลุ่ม

Text Box: ๒.  โครงการเน้นหนักที่ดำเนินการปี   ๒๕๕๓

๑. สำรวจและรวบรวมผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO)

โดยกำหนดคัดเลือกผลิตภัณฑ์เป้าหมายเพื่อพัฒนาและส่งเสริมผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด ด้านการผลิต การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การตลาด และการท่องเที่ยว

๒. พัฒนาเครือข่ายองค์ความรู้ และภาคีการพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพ

โดยมีเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP : KBO) จังหวัด ทั้ง ๗๕ จังหวัด เป็นกลไกในการพัฒนาองค์ความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ภายใต้โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP :KBO) เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด เป็นศูนย์กลางในการให้ความช่วยเหลือ และสนับสนุนให้แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อพัฒนาศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการ และมีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา

๓. คลังข้อมูลภูมิปัญญา OTOP

โดยคัดเลือกภูมิปัญญา OTOP ที่เป็นผลิตภัณฑ์เด่นของทุกจังหวัด เพื่อจัดเก็บและบันทึกข้อมูลภูมิปัญญา OTOP นำเสนอข้อมูลเผยแพร่เข้าสู่เว็บไซต์ คลังข้อมูลภูมิปัญญา OTOP” www.otoptoday.com

๔. จัดทำระบบเว็บไซต์ OTOP http://thaiotop.cdd.go.th

: เป็นช่องทางการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สินค้า OTOP ผ่าน Web site http://thaiotop.cdd.go.th โดยจัดระบบ แยกสินค้า OTOP ทั่วประเทศ เช่น ระบบผลิตภัณฑ์รวม ผลิตภัณฑ์ ทั้ง ผลิตภัณฑ์ แยกเป็นรายจังหวัด รายอำเภอ รายตำบล รายหมู่บ้าน รายชุมชน โดยสินค้าทุกประเภท จะมีรหัสสินค้า มีสถานที่ติดต่อ มีราคา มีการระบุประเภท มาตรฐานของดาว

๕. จัดงานเพิ่มช่องทางการตลาดสินค้า OTOP

โดยจัดให้มีช่องทางการจำหน่ายสินค้า OTOP ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ ส่งเสริมการขายผ่านทางโทรทัศน์ (shop channel)

ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด จังหวัด /งานกาชาด /งานเทศกาลประจำปี/ถนนคนเดิน/ศูนย์จำหน่ายสินค้า OTOP ชุมชน

ระดับภูมิภาค จัดงาน OTOP ภูมิภาค

ระดับประเทศ จัดงาน OTOP CITY และ OTOP Midyear

ส่งเสริมการขายผ่านทางโทรทัศน์ (TV Mahadthai channel) ของกระทรวงมหาดไทย

Text Box: ๓.  แผนการขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย  (Action  Plan) กรมการพัฒนาชุมชน ปี  ๒๕๕๓  นโยบายที่  ๔  การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP


กลยุทธ์ที่ ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

1. สำรวจและรวบรวมผลิตภัณฑ์เป้าหมาย

1. สำรวจและรวบรวมผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO)

75 จังหวัด

-

ข้อมูลผลิตภัณฑ์เด่น 75 จังหวัด

จังหวัด/พช.

2. ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์

2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP : KBO)

75 จังหวัด/2,000 กลุ่ม

22,202,600

-กลุ่มผู้ผลิตชุมชนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ จำนวน 2,000 กลุ่ม

2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ KBO จังหวัด

75 จังหวัด

630,000

-ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด

จังหวัด

2.2 พัฒนาและปรับปรุงศูนย์ KBO จังหวัด

75 จังหวัด

1,050,000

จังหวัด

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

2.3 พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนและผลิตภัณฑ์ OTOP

2,000 กลุ่ม

10,000,000

จังหวัด

2.4 ประกวด เผยแพร่ผลการดำเนินงานของเครือข่าย KBO จังหวัด

75 จังหวัด

10,522,600

พช.

3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (creative economy) โดยการใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการผลิต

8 หมู่บ้าน

7,408,000

หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว 8 หมู่บ้าน

จังหวัด/พช.

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

3. เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการบริหารจัดการและพัฒนา

4. เพิ่มขีดความสมรรถนะและประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ OTOP ด้านการบริหารจัดการ
(เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพด้านการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และการจัดการทุน)

5,000 กลุ่ม

29,389,800

-กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ
จำนวน 5,000 กลุ่ม

4.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแนวทางหลักสูตรการฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ

100 คน

699,800

พช.

4.2 การฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ

5,000 กลุ่ม

28,600,000

จังหวัด

4.3 จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน

600 เล่ม

90,000

พช.

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

5. พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น

240 คน

2,868,800

เยาวชนได้รับการพัฒนาและเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 240 คน

พช.

6. พัฒนาศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร

877 ศูนย์

8,719,200

ศูนย์บริการส่งเสริม
เศรษฐกิจชุมชนครบวงจรต้นแบบ จำนวน 75 ศูนย์

จังหวัด

6.1 พัฒนาศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจรต้นแบบ

75 ศูนย์

4,890,000

จังหวัด

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

6.2 เพิ่มประสิทธิภาพ
การให้บริการศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร

802 ศูนย์

2,605,600

ศูนย์บริการส่งเสริม
เศรษฐกิจชุมชนครบวงจร จำนวน 802 ศูนย์

จังหวัด

6.3 ถอดบทเรียนและเผยแพร่การให้บริการศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร

1,000 ชุด

1,223,600

บทเรียนการให้บริการศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร จำนวน 1,000 ชุด

พช.

7. กิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด/อปท./อื่นๆ

จังหวัด/อปท.

กลยุทธ์ที่ ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

1. ส่งเสริมการจัดทำคลังความรู้

1. จัดทำคลังข้อมูล
ภูมิปัญญา
OTOP

75 จังหวัด

-

คลังข้อมูล OTOP จำนวน 1 ระบบ

พช.

2. สร้างระบบเครือข่าย
การผลิตและตลาด

2. พัฒนาเครือข่าย OTOP สู่ความเข้มแข็ง

75 จังหวัด

-

เครือข่าย OTOP ระดับจังหวัดมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการ 75 เครือข่าย

พช./จังหวัด

3. สร้างความร่วมมือส่งเสริมสินค้า OTOP ระหว่างส่วนราชการ/ห้างขายปลีก/ส่ง/แหล่งเงินทุน/ภาคี

75 จังหวัด

-

พช. / จังหวัด

กระบวนงาน

แผนงาน/โครงการ

เป้าหมาย

งบประมาณ
(บาท)

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

หน่วยดำเนินการ

ต ค.

พย.

ธค.

มค.

กพ.

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

3. สร้างช่องทางเจรจาและพัฒนาเทคนิคทางการตลาด

4. พัฒนา Website OTOP

1 Website

-

Website OTOP

พช.

5. พัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้า OTOP ชุมชน/จังหวัด

75 แห่ง

-

จำนวนศูนย์จำหน่าย OTOP ชุมชน 75แห่ง

จังหวัด/พช.

6. จัดงานสืบสาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
(จัดงาน
OTOP ภูมิภาค)

4 ภาค/
1,200 กลุ่ม

35,000,000

จำนวนกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เข้าร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP
1,200 กลุ่ม

พช.

7. การจัดงานเมืองแห่ง
ภูมิปัญญาไทย (
OTOP CITY)

1 ครั้ง

135,000,000

พช.

8. กิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด/อปท./อื่นๆ

จังหวัด/อปท.

Text Box: ๔.  การติดตาม  และรายงานผลการดำเนินงาน

นโยบายการส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP ตามนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย กำหนดการติดตาม และรายงานผลการดำเนินงาน ดังนี้

๑. การติดตาม : โดยบุคคล ประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการกระทรวง/กรม คณะติดตามและประเมินผล คณะอำนวยการและคณะทำงานติดตามสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และโดยเอกสาร ประกอบด้วย รายงานความก้าวหน้า การประเมินผล

๒. การรายงานผลการดำเนินงาน โดยแยกเป็น

๒.๑ รายงานผ่านระบบรายงาน PA กรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ

-สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นหน่วยรับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล และรายงานเข้าระบบรายงาน PA กรมการพัฒนาชุมชน ทุกครั้งที่มีผลความก้าวหน้า

-กรมการพัฒนาชุมชนรวบรายงานผล และจัดทำรายงานต่อกระทรวงมหาดไทย ตามงวดการรายงานวันที่ ของทุกเดือน

๒.๒ รายงานตามแบบรายงาน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด โดย

-สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นหน่วยรับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล รายงานประกาศการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด ให้กรมการพัฒนาชุมชน ภายในวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ (ตาม Road map ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ที่ ๓.๑.๒)

-กรมการพัฒนาชุมชนรวบรวมรายงานผล และจัดทำรายงานต่อกระทรวงมหาดไทย วันที่ กันยายน ๒๕๕๓

๒.๓ แบบเก็บข้อมูล ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ จำนวนกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เข้าร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP โดยกรมการพัฒนาชุมชนรวบรวมรายงาน และจัดทำรายงานต่อกระทรวง วันที่ ของทุกเดือน

๓. การรายงานผลงานที่จังหวัดดำเนินการภายใต้กิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด/อปท./อื่นๆ โดยจังหวัดรายงานตามแบบที่ กำหนด
ส่งกรมการพัฒนาชุมชน ภายในวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน

ปฏิทินการรายงานผล

รายงาน

จังหวัดรายงานกรม

กรมรายงานกระทรวง

รูปแบบการรายงาน

หน่วยจัดเก็บข้อมูล

๑. กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ

ทุกครั้งที่มีผลความก้าวหน้า

วันที่ ของทุกเดือน

ระบบรายงาน PA กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

๒. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด

วันที่ ๑๐ สิงหาคม

วันที่ กันยายน

รายงานประกาศการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

๓. จำนวนกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เข้าร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP

-

วันที่ ของทุกเดือน

แบบเก็บข้อมูล

กรมการพัฒนาชุมชน

๔. การรายงานผลงานที่จังหวัดดำเนินการภายใต้กิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด /อปท./อื่นๆ

ภายในวันที่ ๒๕
ของทุกเดือน

วันที่ ของทุกเดือน

แบบรายงานที่กำหนด

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

Text Box: กลยุทธ์ที่  ๑   ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด
Text Box: กลยุทธ์ที่  ๒  ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Text Box: แบบรายงานผลการดำเนินงานนโยบายเร่งด่วนกระทรวงมหาดไทย  นโยบายที่  ๔  การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า  OTOP  (ผลงานที่จังหวัดดำเนินการภายใต้กิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด /อปท./อื่นๆ) เดือน........................พ.ศ.  ๒๕๕๓                                                  จังหวัด.................................................


กระบวนงาน

ผลการดำเนินงาน

กระบวนงาน

ผลการดำเนินงาน

กิจกรรม

งบประมาณ

วิธีการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

กิจกรรม

งบประมาณ

วิธีการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

ภาพประกอบ (ถ้ามี)

ผู้รายงาน..........................................................
(........................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วันที่............เดือน.........................พ.ศ. ๒๕๕๓

จังหวัดส่งกรมฯ ภายในวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน
หรือ
e-mail : Kanjan@cdd.go.th

ภาพประกอบ (ถ้ามี)

ภาพประกอบ (ถ้ามี)

ภาพประกอบ (ถ้ามี)


กลยุทธ์ที่ ๕.๑ ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด

ชื่อตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ

ความหมาย :

กลุ่มผู้ผลิตชุมชน หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ยกเว้น กทม.) จำนวนทั้งสิ้น ๑๘,๒๓๐ กลุ่ม*

การบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนสามารถบรรลุเป้าหมายเชิงรายได้ตามแผนธุรกิจ คือ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีการดำเนินกิจการตามแผนธุรกิจและมีรายได้คุ้มทุน (อย่างน้อยลงทุนไปแล้วไม่ขาดทุน หรือมีกำไร)

รายได้คุ้มทุน หมายถึง รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมพอดี นั่นคือ รายได้ทั้งหมดที่ได้จากการขายสินค้าเท่ากับค่าใช้จ่ายจากต้นทุนทั้งหมดในการผลิตสินค้า โดยที่กิจการสามารถหารายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้วเท่ากับต้นทุนคงที่ หรืออีกนัยหนึ่งกิจการไม่ได้รับผลกำไรพร้อมกับที่ไม่ได้รับผลขาดทุนจากการใช้ทรัพย์สินหรือยอดกำไรเท่ากับศูนย์นั่นเอง (บัญชีแสดงสถานะการเงินกลุ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓)

ต้นทุน เป็นการคำนวณต้นทุนในปี ๒๕๕๒ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓) ที่เป็นค่าใช้จ่ายหรือรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเพื่อให้ได้สินค้า หรือผลของกิจกรรมทางธุรกิจ เช่น วัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการผลิต เป็นต้น

การหารายได้ ณ จุดคุ้มทุน สามารถคำนวณได้ดังนี้

กำไร = รายได้ - ต้นทุนทั้งหมด

ณ จุดคุ้มทุน = 0 หมายถึง รายได้ = ต้นทุนทั้งหมด

วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ในการบริหารจัดการ การผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาด และ
การเข้าถึงแหล่งทุน
เพื่อนำไปสู่การเป็นชุมชนที่มีศักยภาพในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน

หน่วยวัด : กลุ่ม

เป้าหมาย :

๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

รวม ๒๕๕๓-๒๕๕๕

๕,๐๐๐ กลุ่ม

๕,๐๐๐ กลุ่ม

๕,๐๐๐ กลุ่ม

๑๕,๐๐๐ กลุ่ม

ฐานข้อมูล : * กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ยกเว้น กทม.) จำนวน ๒๑,๒๕๐ กลุ่ม
แต่เนื่องจากกลุ่มดังกล่าวเป็นกลุ่มที่
ได้รับการพัฒนาสู่การเป็นผู้ประกอบการ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ (๓,๐๒๐ กลุ่ม) ดังนั้นฐานข้อมูลจำนวน
กลุ่มผู้ผลิตชุมชน ในปี ๒๕๕๓ จำนวน ๑๘,๒๓๐ กลุ่ม

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :

.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นหน่วยรับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล

.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดรายงานผ่าน ระบบรายงาน PA กรมการพัฒนาชุมชน ทุกระยะที่มีผลความก้าวหน้า


กลยุทธ์ที่ ๕.๑ ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด

ชื่อตัวชี้วัด : ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด

ความหมาย : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน หมายถึง การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้านรูปแบบ หรือด้านบรรจุภัณฑ์ หรือด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อการเพิ่มมูลค่าให้มีโอกาสทางการตลาดมากขึ้น โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และได้รับการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัด

เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO) จังหวัด คือ ภาคีการพัฒนาที่ประกอบด้วย สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน และกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP โดยการเชื่อมโยงแหล่งความรู้ในท้องถิ่นกับชุมชน เพื่อนำภูมิปัญญาพัฒนาขีดความสามารถผู้ผลิตชุมชนและผลิตภัณฑ์ OTOP

วัตถุประสงค์ : ส่งเสริมให้จังหวัดพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ได้รับการยกระดับมาตรฐาน เพื่อให้ชุมชนผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และเทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึ่งมีเครือข่ายองค์ความรู้ (
Knowledge-Based OTOP : KBO) จังหวัด เป็นแกนประสานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP

หน่วยวัด : กลุ่ม

เป้าหมาย :

๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

รวม ๒๕๕๓-๒๕๕๕

๒,๐๐๐ กลุ่ม

๒,๐๐๐ กลุ่ม

๒,๐๐๐ กลุ่ม

๖,๐๐๐ กลุ่ม

ฐานข้อมูล : กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ จำนวน ๒๑,๒๕๐ กลุ่ม (ยกเว้น กทม.)

.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นหน่วยรับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล

.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดรายงานผ่าน ระบบรายงาน PA กรมการพัฒนาชุมชน ทุกระยะที่มีผลความก้าวหน้า
และ
รายงานประกาศการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ส่งกรมฯ ภายในวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๓

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :


กลยุทธ์ที่ ๕.๒ ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ชื่อตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP เข้าร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP

ความหมาย : กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชน ผู้ผลิตชุมชนที่เป็นเจ้าของรายเดียว ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งผลิตสินค้า ที่แสดงความเป็นไทย หรือภูมิปัญญาไทย สมาชิกในกลุ่มร่วมกันผลิต บริหารจัดการ ร่วมรับผลประโยชน์ หรือมีความเชื่อมโยงกับชุมชน โดยเป็นกลุ่มอาชีพ OTOP ที่ลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปี ๒๕๕๒

การแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP หมายถึง การแสดงผลงาน สินค้า ผลิตภัณฑ์ และจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้คนทั่วไปได้ชมและเลือกซื้อ ในระดับภูมิภาค และระดับประเทศ

วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าแก่กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP และพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ตรงกับความต้องการของตลาด ตลอดจนสามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภคได้โดยตรง

หน่วยวัด : กลุ่ม

เป้าหมาย :

๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

รวม ๒๕๕๓-๒๕๕๕

๑,๒๐๐ กลุ่ม

๑,๒๐๐ กลุ่ม

๑,๒๐๐ กลุ่ม

๓,๖๐๐ กลุ่ม

ฐานข้อมูล : กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ที่ลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :

กรมการพัฒนาชุมชนรวบรวมรายงานผล และจัดทำรายงานต่อกระทรวง วันที่ ของทุกเดือน

Text Box: ๖.  กรอบการขับเคลื่อนตัวชี้วัด





















images from google search









Genetic Resources อาทิ พันธุ์พืชต่างๆ คือว่ากำลังสนใจพันธ์พืชน่ะ เมืองไทยมีสินค้าที่เป็นพันธ์พืชส่งเข้าประกวดโอทอปด้วย เช่น ผัก ผลไม้ กล้วยไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับ พัฒนากรในพื้นที่ล้วนช่วยกันดูแลให้นักนวัตกรรมพันธ์พืชจดทะเบียนพันธ์พืชกันไว้ด้วยค่ะ บางชนิด มีการส่งออกแข่งกับประเทศอื่นด้วย การแข่งขันก็สูงมาก พัฒนากรเราช่วยชาวบ้านปกป้องคุ้มครองสิทธิกัน

พอดีช่วงนี้ดูพวกกุหลาบ ชวนชมกับโป๊ยเซียนอะไรแบบนี้ เห็นว่าเกษตรกรไทยไม่ธรรมดาสามารถมาก จนสภาพพันธ์สีดอกใกล้เคียงกับคู่แข่งคู่ค้าในต่างประเทศทีเดียว








tag:

โป๊ยเซียน,เพชรสยามรู้ง,Traditional Knowledge ,IGC Sixteenth Session - May 3 to 7, 2010,(1) ทรัพยากรพันธุกรรม (Genetic Resources) อาทิ พันธุ์พืชต่างๆ (2) องค์ความรู้ของชุมชนท้องถิ่น (Traditional Knowledge) อาทิ การแพทย์แผนโบราณ นวัตกรรมท้องถิ่น และ (3) ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน (Folklore/Traditional Cultural Expressions) ,ศิลปะท้องถิ่น ,ความเชื่อ, ดนตรีพื้นเมือง


องค์ความรู้ของชุมชนท้องถิ่น (Traditional Knowledge) อาทิ การแพทย์แผนโบราณ นวัตกรรมท้องถิ่น พวกนี้นักพัฒนาชุมชนเราถนัดมาก ช่วยค้นคว้าสืบเสาะ อนุรักษ์ บ้างขนาดแต่งเรื่องพรรณนาช่วยเจ้าของท้องถิ่นทำแผ่นพับส่งเสริมหมู่บ้านวัฒนธรรมท้องถิ่นกันอย่างสุดความสามารถ คือว่าถ้าอนุรักษ์แบบเก่าไม่กลืนหายได้ก็ดี


ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน (Folklore/Traditional Cultural Expressions) อาทิ ศิลปะท้องถิ่น ความเชื่อ ดนตรีพื้นเมือง อันนี้เป็นจุดขายของหมู่บ้านท่องเที่ยวทีเดียวเจียว พัฒนากรเราก็ยอดเยี่ยม ดึงจุดขายส่งเสริมกันสุดๆ เพื่อความกินดีอยู่ดีของพี่น้องชาวชนบทรากหญ้า มีรายได้เสริมจากจุดขายในหมู่บ้านท้องถิ่น เน้นการท่องเที่ยว กันเป็นตำบลหมู่บ้านกันไปเลย บางจุดนักท่องเที่ยวไม่เคยขาด ว่าแต่จะทำอย่างไร ให้เงินทองเข้ากระเป๋าชาวบ้านตรงๆ ไม่ใช่โดนบริษัททัวส์ตัดหัวคิวไปหมดสิ้นตั้งแต่ทางประเทศต้นทางโน่น






http://www.mfa.go.th/business/2318.php?id=3840

กรอบพันธมิตรและหุ้นส่วนระหว่างประเทศ

Intergovernmental Committee on Intellectual Property and Genetic Resources,
Traditional Knowledge and Folklore (IGC)

1. ภูมิหลัง


1.1 การประชุม Intellectual Property and Genetic Resources, Traditional Knowledge and Folklore (IGC) ครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อปี 2544 ณ สำนักงานใหญ่ WIPO นครเจนีวา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารือเกี่ยวกับร่างบทบัญญัติเพื่อคุ้มครองภูมิปัญญา ท้องถิ่นประเภทต่างๆ ได้แก่

(1) ทรัพยากรพันธุกรรม (Genetic Resources) อาทิ พันธุ์พืชต่างๆ

(2) องค์ความรู้ของชุมชนท้องถิ่น (Traditional Knowledge) อาทิ การแพทย์แผนโบราณ นวัตกรรมท้องถิ่น และ

(3) ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน (Folklore/Traditional Cultural Expressions) อาทิ ศิลปะท้องถิ่น ความเชื่อ ดนตรีพื้นเมือง


1.2 เนื่องจากการประชุม IGC ยังไม่สามารถหาข้อสรุปเกี่ยวกับประเด็นภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านี้ได้ เนื่องจากแนวคิดที่ไม่ตรงกันระหว่าง

(1) ประเทศกำลังพัฒนาและกลุ่มชนพื้นเมืองดั้งเดิม (indigenous people) ซึ่งต้องการผลักดันให้มีการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยต้องการให้มีระบบกฎหมายเฉพาะ (sui generis) ที่มีผลผูกพันระหว่างประเทศ โดยกฎหมายเหล่านั้นควรกำหนดให้มีการเปิดเผยแหล่งที่มาของภูมิปัญญาท้องถิ่น (disclosure of origin) การได้รับความยินยอมก่อนที่จะเข้าถึง (prior informed consent – PIC) และการแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ภูมิปัญญา (access and benefit sharing – ABS) และ

(2) ประเทศพัฒนาแล้วซึ่งต้องการนำภูมิปัญญาเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ และเห็นว่าการมีกฎหมายที่มีผลผูกพันระหว่างประเทศต้องศึกษาให้รอบคอบ และต้องการให้การประชุม IGC เป็นเพียงเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานด้าน GRTKF ในแต่ละประเทศเท่านั้น


1.3 ในการประชุม IGC ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2552 ณ สำนักงานใหญ่ WIPO นครเจนีวา ประเทศกำลังพัฒนาเรียกร้องให้มีการต่ออาณัติการประชุม IGC ออกไปอีก 2 ปี แบบมีเงื่อนไข อย่างไรก็ดี ไม่สามารถตกลงกันได้ จนกระทั่งมีการนำมาพิจารณาในการประชุมสมัชชาใหญ่ WIPO ระหว่างวันที่ 22 กันยายน – 1 ตุลาคม 2552 ซึ่งที่ประชุมได้มีมติให้ต่ออาณัติ IGC โดยมีเงื่อนไข ได้แก่

(1) ให้มีกรอบระยะเวลาที่ชัดเจน โดยให้มี intersessional working group (IWG)

(2) ให้มีการเจรจาแบบรายข้อบท (text-based negotiations)

(3) ให้นำไปสู่ international legal instrument(s)


1.4 อย่างไรก็ดี ในการประชุม IGC ครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 7-11 ธันวาคม 2552 ที่ประชุมฯ ยังไม่สามารถตกลงกันได้เรื่องรูปแบบของ (IWG) ซึ่งจะนำไปพิจารณาในที่ประชุม IGC ครั้งที่ 16 ต่อไป


2. ท่าทีไทย


ไทยสนับสนุนให้มีการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับระหว่างประเทศ ในรูปแบบ international legal instrument(s) โดยให้มีการจัดตั้ง interessional working group ภายใต้ IGC โดยเน้นหลักความโปร่งใสและความมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ไทยได้เรียกร้องให้ทุกฝ่ายมีความยืดหยุ่นในเรื่องดังกล่าวเพื่อให้สามารถ บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ นอกจากนี้ เห็นว่า WIPO ควรให้การสนับสนุนประเทศกำลังพัฒนาในการเตรียมความพร้อมในเรื่องดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดทำกฎหมายภูมิปัญญาท้องถิ่นระดับชาติและการทำฐาน ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น

*************************


กองนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

11 มกราคม 2553




http://www.wipo.int/tk/en

Domestic Reforms in Thailand Needed

Apart from international advocacy for the protection of indigenous people’s traditional knowledge, domestic efforts to prevent misappropriation of TK for private profits are also essential. These efforts are such as:

1. Increase Funding, Personnel, and Legal Training in IPR
Lack of funding, personnel and essential skills, especially in international trade law and the English language, have hindered the Department of Intellectual Property (DIP) from effectively taking both defensive and offensive measures to seek IPR protection of Thai traditional knowledge internationally. An increase in resources of all three areas is urgently necessary. Inadequate human resources within the DIP make searching for possible violations of Thai IPR worldwide a difficult task to achieve. Further, foreign language skills are also a necessary element for an effective defence of the country’s IPR. The Patent Cooperation Treaty (PCT) can be an effective tool for monitoring patent registration worldwide, in that its process of filing an international patent application makes a patent search for examination easier and more accessible. Nonetheless, a DIP official stated that the filing process would require a good level of English especially in the field of international trade law, both of which Thai officials still required further training8.

It must also be noted here that Thailand has yet to become a PCT member and the PCT is only a patent filing (not granting) system. In addition, the PCT only covers patents and not trademarks, which does not solve the problem of misappropriation of traditional knowledge names for private use. Instead, the Madrid System for the International Registration of Marks, enables applicants to register their trademarks internationally. However, as in the case of the PCT, Thailand is currently not a member of the Madrid Agreement, and if both systems are implemented in Thailand, a larger number of experts, staff, and examiners will be required. Hence, unless greater financial and human resources are allocated to the IPR protection task force, it is difficult to foresee how international violations of Thai traditional knowledge can be deterred.

2. Cooperate with non-governmental organisations (NGOs)
Because of the severe lack of funding and personnel, the government must seek cooperation from other stakeholders to keep a close watch on IP registrations worldwide. While close cooperation among various government departments is highly essential, as in the Rusie Dutton case, civil society groups can be an important alliance for this mission. Yet, civil society and non-governmental organisations (NGOs) in Thailand have often been negatively perceived as ‘traitors’ or ‘foreign-funded, nation-selling organisations’, despite the fact that NGOs are simply a social agent of a democratic system – an agent whose role is to bring out social debates to the public. Many NGOs understand the needs of the poor very well, given their grassroots-based works. NGOs such as the MS Swaminathan Research Foundation (MSSRF) in India created the Farmers Rights Information System (FRIS) database which is linked to the Community Gene Bank (CGB). The system collects seed samples of farmers’ varieties of different crops in certain parts of India where MSSRF works with local communities in livelihood-linked conservation. Such database plays a crucial role in documenting traditional knowledge which will be useful in the examination of IPR applications that may illegitimately use traditional knowledge for private profits. Therefore, the works of NGOs should be supported rather than discouraged, and closer alliance between the government and the NGOs is also necessary, if an effective IPR protection is to take place.

Moreover, in the age of globalisation, civil society groups also have extensive international networks that function as IPR watchdogs, guarding the interests of each other’s countries and local communities. Organisations such as GRAIN (www.grain.org), Biothai (www.biothai.net), and Intellectual Property Watch (www.ip-watch.org) are but a few NGOs working collectively to take actions against misappropriation of community intellectual property. Such extensive networks are valuable assets for the Thai government in their work to safeguard the nation’s interests in IPR. Mistrusts between NGOs and the government have resulted in ineffective implementation of measures that could have prevented many cases of international IPR violation from happening. Therefore, a change in the civil society discourse in Thailand is an urgently needed element of an effective safeguarding of Thai IPR.

3. Encourage TK Registration
In order to utilise existing international IP system to protect traditional knowledge, Thailand must adopt the defensive protection measure, at least for now. The measure involves creating databases for TK documentation, for reasons that many IP systems require that traditional knowledge be documented in a written form in order to be considered as prior art. This is to allow easy database search when a patent application is submitted. Currently, databases on traditional knowledge have been created in several developing countries. Venezuela has developed the ‘Biozulua Database’ which contains information and data of indigenous communities of Venezuela related to traditional medication, ancestral technologies and TK on agriculture and nutrition9. Similarly, India has also shown efforts to document its own indigenous knowledge by creating the Traditional Knowledge Digital Library (TKDL). TKDL was a result of India’s 5-year fight to overturn two patents registered in the US and Europe which were based on Indian traditional knowledge of the use of neem and tumeric for medical purposes. After its success, various government institutes in India have collaboratively created the TKDL which documents information in fourteen Ayurvedic10 texts. To date, there are approximately 36,000 formulations that have been transcribed in patent application format11. Through the process of the TKDL creation, India has developed an innovative traditional knowledge resource classification system that was adapted from the existing intellectual property rights regime to offer a distinct classification system to the TK documentation. India’s creation of a TK library is an evidence that developing countries can also effectively safeguard their own intellectual property without having to always rely on an enormous national budget, like the $1.404 billion budget of the US Patent and Trademarks Office (USPTO) in 200412. Even though developing countries cannot afford such a substantial budget size, protection of their own IPR interests is not impossible.

Efforts to document traditional knowledge have started in Thailand. The Department of Intellectual Property is liaising with several ministries such as the Ministry of Public Health’s Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, as well as the Ministry of Culture, and the Ministry of Natural Resources and Environment, to create a TK database. But progress has recently stalled due to differences between each ministry’s information management system, among other reasons. In addition, a joint decision on whether to take the defensive or positive protection approach is yet to be made. Some officers are concerned that publicising TK may cause more harm than good to indigenous communities. However, since the current IP system does not recognise the positive rights of community members as traditional knowledge holders, registries and databases of TK become a necessary measure to protect TK from misappropriation.

Thailand should seek close cooperation with India and other developing countries to obtain technical assistance on how to document traditional knowledge and genetic resources. Additionally, local communities can also play an important role in documenting local genetic resources and traditional knowledge. The ‘Thai Baan (Villagers’s) Research’13 by Northeastern villagers who were affected by the construction of Pak Mun Dam in Ubon Ratchathani province is an excellent example of how community members can effectively record genetic resources and TK that exist in their communities such as plant varieties, fish species and fishing gears. Allowing communities to actively participate in the database project can create a sense of ownership and empower the communities. Lessons from Venezuela’s Biozulua database, India’s TKDL, and the ‘Thai Baan Research’, can help Thailand improve its disappointing record of the TK registration in recent years. But apart from documenting TK in databases, issues of knowledge ownership, access to knowledge, and benefit sharing must also be addressed to achieve fairness in the utilisation of TK.

4. Recognise the Importance of Trademarks
To effectively safeguard Thailand’s commercial interests, it is highly important that the country gives an equal importance to trademarks of traditional knowledge as it does to patents. Rather than adopting a passive measure by compromising in international disputes over trademarks of Thai TK, such as creating a new and unknown ‘Thai Hom Mali Rice’ trademark to replace the long well-known ‘Thai Jasmine Rice’ brand when the dispute over an American firm over its ‘Jasmati’ trademark came to no avail, the Thai government must adopt a pro-active measure to defend the nation’s trade interests in the fight to retain their widely recognised TK names such as ‘Jasmine rice’ or ‘Rusie Dutton’, since these famous names contain high commercial value for the nation. One of the ways to attain this is to continue to join force with other developing countries in advocating for the inclusion of products other than wine and spirits into the Geographical Indication rules of the TRIPS agreement.

Conclusion
Unlike protection of intellectual property rights in industrial goods, safeguarding IPR in traditional knowledge, genetic resources, and biodiversity is a much more delicate issue, since there is no clear-cut rules to govern the management and regulations of the use of these resources. Law must be enacted to defend national resources and knowledge from monopolisation. The Traditional Knowledge Protection Act is currently being drafted, but several issues are pending for further debates14. However, safeguarding these national treasures should not be the responsibility of the government alone. Civil society can become an important coalition for the government in protecting communal intellectual property and resources. The obstacle now is how civil society and the state can cross the border that divides them. Success for this relies much upon willingness from both sides to set aside their differences and recognise the important roles that each plays in society, especially in the IPR protection.

References


http://www.itd.or.th/en/node/406
http://rosesunlimitedownroot.com/photos.htm
http://rosesunlimitedownroot.com/photo_2.htm

November: Send soil sample to Clemson University or other laboratory in your area. {pH check}

December: (A) Prune back all bushes (leave 3 - 4 ft. tall)

(B) Remove old mulch, old leaves, and debris

(C) Spray ground and bushes with Dormant Spray or with Double Strength Regular Insect/Disease Spray.

(D) Add lime according to soil test specifications or 1 cup per established bush.

(E) Add new mulch or hill up roses with 8 to 10 inches of soil

January: (A) Check moisture content of soil (if dry season)

(B) Make plans to enlarge rose bed

(C) Select additional Own-root roses and order

(D) Check spray supplies (purchase no more than you can use in 2 seasons)

Late February (Depending upon weather conditions)

Early March

(A) Rake back mulch from rose bushes

(B) Select Best Canes (5 to 6) and prune to 18" to 24" (leave yellow & less vigorous varieties 24" to 36" tall)

(C) Remove old, weak, dead canes.

(D) Seal all pruning cuts with glue or pruning compound.

(E) Remove all dead and dying leaves from bush and ground

(F) Scratch into the soil around each established plant:

1/2 cup blood meal, 1/2 cup super-phosphate, 1/4 cup Epson salts

[1 cup of lime, if not applied in December]

(G) Apply generous quantity of water

(H) Pull mulch back around canes...***Don't remove mounds of soil until April if you have hilled up your rose bushes; then carefully wash away soil with garden hose

(I) Spray with insect/disease spray; cover ground and canes to dripping stage.

March: (A) Begin weekly spray program for disease when new leaf growth begins and continue until killing frost in Fall

Late March: Apply: (a) 1 cup of 10-10-10 to soil around each established bush

(b) 4 to 5 shovels of manure around each established plant

(c) generous quantity of water

April: (A) Pull back mulch - Apply around each plant - and scratch into soil:

1 cup cottonseed meal, 1 cup alfalfa meal, 1 cup fish meal, 1/2 cup gypsum, and 1 tablespoon chelated iron (Fe330)

(B) Spray bushes, especially Buds, for insects if present

Late April: Apply 1 cup 10-10-10 around each established bush, then water

May: Enjoy your Spring Roses (cut roses only off established plants, 2 years old or older) Cut to a 5 leaflet to encourage new buds.

Late May: (A) Apply 1 cup 10-10-10 around each bush and water

(B) Controlled release fertilizer (Osmocote, etc.) maybe applied in place of 10-10-10 (follow package directions for amount)

May, June

July and August (A) Continue weekly spray program for disease

(B) Spray for insects only when needed

(C) Spray for spider mites as needed...water wash plants weekly

(D) Apply monthly feeding of 1 cup 10-10-10 per established plant

(E) Liquid Feed your new own-root roses once per month (don't apply granular fertilizer to first year plants)

(F) Water weekly if less than 1" of rain

2nd week

of June (A) Apply additional mulch to conserve moisture (optional)

(B) Liquid feed each bush with 1 tablespoon Peter's 20-20-20,

1 tablespoon chelated iron, 1 tablespoon Epson salts per gallon of water

1st week

of August (A) Apply another gallon of Liquid feed per bush: 1 tablespoon Peter's Fert.,

1 tablespoon chelated iron, 1 tablespoon epson salts per gallon of water

September: (A) Do not apply any other fertilizer until late March--allow bushes to harden off for better winter protection

(B) Continue Spray program weekly

(C) Continue weekly watering

October: (A) Continue spray program

(B) Water weekly if needed

Most important steps of rose care

Weekly spray program -- weekly water -- monthly fertilizer (mid-March through mid-September)


http://www.paulzimmermanroses.com/libraryroseindividualpage.asp?CKOR

http://www.paulzimmermanroses.com/LibraryThumb.asp?action=libclass&class=MR

+http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2009/01/J7448535/J7448535.html

อรุณ โสตถิกุล; Aroon Sottikul; สุธีกานต์ โสตถิกุล
ชื่อ เรื่อง:ศึกษาความผันแปรของลักษณะของโป๊ยเซียนที่เกิด จากการฉายรังสีและการผสมพันธุ์
Article title:Variation in characteristics of Euphorbia milii. by irradiative and hybridization
ชื่อ เอกสาร :เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 15: เล่มที่ 1 สาขาพืชศาสตร์
Source title :Proceedings of the 15th Rajamangala Institute of Technology annual conference: V.1 Plant Science
หน่วย งานจัดพิมพ์:สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจัยและพัฒนา
สถาน ที่พิมพ์:กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์:2541
หน้า:หน้า 252-259
จำนวน หน้า:338 หน้า
ภาษา:ไทย
สาระสังเขป:สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่ง ติดตามเอกสาร:สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2541 ล.1)
หมวด หลัก:F30-Plant genetics and breeding
อร รถาภิธาน-อังกฤษ:EUPHORBIA; GAMMA IRRADIATION; HYBRIDIZATION; VARIETIES; POT PLANTS
ดรรชนี-ไทย:โป๊ยเซียน; รังสีแกมมา; การปรับปรุงพันธุ์; การฉายรังสี; ความผันแปรทางพันธุกรรม; การผสมพันธุ์พืช; พันธุ์
บท คัดย่อ:การศึกษาความผันแปรของลักษณะของโป๊ยเซียนที่ เกิดจากการฉายรังสี และการผสมพันธุ์ ได้ทำการทดลองตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2539 - สิงหาคม 2540 ณ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง การศึกษาความผันแปร อันเนื่องมาจากรังสี ปรากฏว่าพันธุ์โป๊ยเซียน จำนวน 20 สายพันธุ์ที่นำมาศึกษาทดลองฉายรังสีแกมมา ในปริมาณรังสีต่างๆ กัน (0, 5, 10, 15 และ 20 เกรย์) มีการตอบสนองและทนทานต่อรังสีแตกต่างกัน พันธุ์ที่มีความทนทานต่อรังสีได้ดีและไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงให้เห็นเด่นชัด คือ พันธุ์นางพญา, เพชรน้ำหนึ่ง, พระเสื้อเมือง, คมศร, ศรีสุดารัตน์, พันธุ์อรดา และพันธุ์อู่ทอง ส่วนพันธุ์ที่มีการตอบสนองต่อรังสีได้ดี แต่ได้ลักษณะด้อยกว่าเดิมไม่เหมาะสมสำหรับปลูกเลี้ยงต่อไป เช่น พันธุ์เพชรใบหยกขาวเหรียญบาท ลูกไม้หมายเลข 1 เนื่องจากมีใบหงิกงอ ขนาดดอกเล็ก ใบเล็กลงหรือใบร่วง กลุ่มพันธุ์ที่มีความผันแปรไปในทางที่น่าสนใจคือ พันธุ์ทิพย์มาลี ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสีของดอกให้เห็นเด่นชัด และเริ่มมีความแตกต่างในปริมาณรังสี ตั้งแต่ 5, 10, 15 และ 20 เกรย์ ส่วนพันธุ์เพชรินทร์ที่ปริมาณรังสี 15 และ 20 เกรย์ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น คือมีการแตกยอดมากกว่า 1 ยอด ทำให้มีดอกมากกว่ากลุ่มควบคุม และมีการออกดอกที่ทนทานกว่ากลุ่มควบคุมอีกด้วย ส่วนพันธุ์หนึ่งในจักรวาลมีแนวโน้มที่ลำต้นเตี้ยลงกว่ากลุ่มควบคุมที่ปริมาณ รังสี 20 เกรย์ ซึ่งลักษณะการผันแปรที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ผู้ศึกษาได้รวบรวมปลูกเลี้ยงไว้ศึกษาต่อไป สำหรับลูกผสมที่ได้จากการผสมเกสรโป๊ยเซียน จำนวน 10 พันธุ์ เมื่อเพาะเมล็ดปรากฏว่าได้ลูกผสมที่เจริญเติบโตทั้งหมด 8 คู่ผสม ลูกผสมที่ได้คือ 1) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์จอมพลกับต้นพ่อพันธุ์ศรีสมโภชน์ได้ 4 ต้น, 2) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์เพชรพะเยากับต้นพ่อพันธุ์ทรัพย์ประเสริฐ ได้ 7 ต้น, 3) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์ทรัพย์ประเสริฐกับต้นพ่อพันธุ์กุหลาบเขลางค์ ได้ 6 ต้น, 4) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์โชคอำนวยกับต้นพ่อพันธุ์กุหลาบเขลางค์ ได้ 3 ต้น, 5) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์ทรัพย์ประเสริฐกับต้นพ่อพันธุ์ทิพย์มาลี ได้ 4 ต้น, 6) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์ดาวรุ่งกับต้นพ่อพันธุ์ทรัพย์ประเสริฐ ได้ 7 ต้น, 7) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์จอมพลกับต้นพ่อพันธุ์ทรัพย์ประเสริฐ ได้ 1 ต้น และ 8) ลูกผสมระหว่างต้นแม่พันธุ์ทรัพย์ทวีกับต้นพ่อพันธุ์ทรัพย์ประเสริฐ ได้ 1 ต้น ซึ่งลักษณะความผันแปรต่างๆ นั้นยังต้องศึกษาต่อไป เนื่องจากยังไม่มีการออกดอกสมบูรณ์
หมาย เลข:058879 TAB440898 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง:มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน


http://www.plantsearchonline.com/R.htm

http://www.pantown.com/board.php?id=15361&area=4&name=board17&topic=53&action=view

http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2009/01/J7448535/J7448535.html

http://rosesunlimitedownroot.com/new_page_14.htm

http://www.un.org/millennium/law/

Legal instrumentOneRiotYahooAmazonTwitterdel.icio.us

From Wikipedia, the free encyclopedia

Jump to: navigation, search

Legal instrument is a legal term of art that is used for any formally executed writing that can be formally attributed to its author,[1] records and formally expresses a legally enforceable act, process,[2] or contractual duty, obligation, or right, and therefore evidences that act, process, or agreement[3].[4] Examples include a certificate, deed, bond, contract, will, legislative act, notarial act, court writ or process, or any law passed by a competent legislative body in municipal (domestic) or international law. Many legal instruments were written under seal by affixing a wax or paper seal to the document in evidence of its legal execution and authenticity (which often removes the need for consideration in contract law); however, today many jurisdictions have done away with the requirement of documents being under seal in order to give them legal effect. Others, such as Australia, have re-interpreted sealing as a formally attested signature.

Contents

[hide]

http://en.wikipedia.org/wiki/Legal_instrument


01 Apr 10

น.ส.ปราณี ภารังกูล หน.ศพช.พิษณุโลก นำทีมข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ดีเดย์โครงการอุทยานการเรียนรู้พอเพียงตามรอยพ่อแบบ พช. วันที่ 1 เมษายน 2553 [Others]
น.ส.ปราณี ภารังกูล หน.ศพช.พิษณุโลก นำทีมข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ดีเดย์โครงการอุทยานการเรียนรู้พอเพียงตามรอยพ่อแบบ พช. วันที่ 1 เมษายน 2553


Attachment : Pr_2-2.jpg, Pr_2-1.jpg, Pr_2-3.jpg (กดปุ่มขวาของ mouse ที่ชื่อ file, หากต้องการพิมพ์หรือ save file)
Posted By : นางสาวภัทรดา วงค์จันต๊ะ [ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนพิษณุโลก กรมการพัฒนาชุมชน] - 01 Apr 10 13:42

01 Apr 10

จังหวัดนครพนม จัดกิจกรรมพิธีเปิดตลาดสินค้าชุมชน ครั้งที่ ๑ [Others]
นายพงษ์ศิริ กุสุมภ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานในพิธีเปิดตลาดสินค้าชุมชน ครั้งที่ ๑ โดยมีนายกานต์ ธงศรี พัฒนาการจังหวัดนครพนม กล่าวรายงาน พร้อมด้วยส่วนราชการ หน่วยงาน นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป ได้ร่วมในพิธีเปิดและ เยี่ยมชม เลือกซื้อสินค้าชุมชน ซึ่งได้มี กลุ่มอาชีพต่าง ๆ ผู้ประกอบการสินค้า OTOP และ ชาวบ้านทั่วไปในเขตจังหวัดนครพนม มาร่วมจำหน่ายสินค้าชุมชน ประเภทเครื่องอุปโภคบริโภค เช่น ไข่ไก่ พืชผักปลอดสารพิษ ผักพื้นบ้าน ตลอดจนสินค้าชุมชนทั่วไป ในราคาถูกและเป็นราคาเดียวกันกับการซื้อจากแหล่งชุมชน โดยตรง เพื่อเป็นช่องทางการตลาดและเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน ณ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดนครพนม ในวันอังคาร ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๓ เวลา 08.45 น.


Attachment : talad.pdf (กดปุ่มขวาของ mouse ที่ชื่อ file, หากต้องการพิมพ์หรือ save file)
Posted By : นายกานต์ ธงศรี [นครพนม กรมการพัฒนาชุมชน] - 01 Apr 10 15:08

01 Apr 10

รัฐเดินหน้าจัดงานโอทอป
รายละเอียดตามเอกสารแนบ


Attachment : รัฐเดินหน้าจัดงานโอทอป.PDF (กดปุ่มขวาของ mouse ที่ชื่อ file, หากต้องการพิมพ์หรือ save file)
Posted By : นางสาวยอดขวัญ ว่านเครือ [กองประชาสัมพันธ์ กรมการพัฒนาชุมชน] - 01 Apr 10 12:09

No comments:

CDD Photo Album