Friday 25 January 2013

We need to be more protect by rule or community audit and participation power to block wisdom illegal access?

















We need to be more protect by rule or community audit and participation power to block wisdom illegal access?

http://www.cep.cdd.go.th/index.php






http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538975850&Ntype=19

http://www.ipitc.coj.go.th/index.php
http://www.wipo.int/wipolex/en/profile.jsp?code=in

หัวข้อข่าวเด่นวันนี้
 ขอเชิญร่วมซื้อกระเช้าสินค้าจากผลิตภัณฑ์ OTOP 
กรมการพัฒนาชุมชน โดยสำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ขอเชิญทุกท่าน ส่งความสุข ปี พ.ศ.2556 ด้วยกระเช้าของขวัญจากภูมิปัญญาคนไทยทั่วทั้ง 4ภาค เหนือ ใต้ อีสาน กลาง หลากหลายประเภทผลิตภัณฑ์ ให้ท่านได้เลือกซื้อ สวัสดีปีใหม่ ซื้อกระเช้า OTOP ช๊อปช่วยชาติกันนะคะ  
ข่าวประชาสัมพันธ์
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี) ให้เกียรติเป็นประธาน การประชุมเชิงปฏิบัติการและชี้แจงคณะกรรมการคัดสรร สุดยอด หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 
วันที่ 11 ธ.ค.55 เวลา 15.30 น. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (นายกรัฐมนตรี) ได้มอบยโยบายการดำเนินงาน OTOP ในการประชุมเชิงปฏิบัติการและชี้แจงคณะกรรมการคัดสรรสุดยอด หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2555 โดยมี นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย)เป็นผู้กล่าวรายงาน โดยท่านนายกรัฐมนตรี ได้ให้ความสำคัญกับการขายสินค้า OTOP ผ่านการบูรณาการกัน ของหน่วยงานภายในประเทศ ทั้งรัฐบาลและเอกชน มุ่งเน้นให้ชาวบ้านได้ผลิตสินค้าที่มาจากภูมิปัญญา ใช้สินค้าในท้องถิ่น จนเกิดเป็นสินค้าอันทรงคุณค่า เพื่อออกขายสู่ตลาดโลก
ประชุมคณะพิจารณาและจัดทำขอบเขตการวิจัยและประเมินผนการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน 
นายพิสันติ์ ประทานชวโน (รองอธิบดีฯ) เป็นประธานคณะพิจารณาและทำขอบเขตการวิจัยและประเมินผลการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ณ ห้องประชุมกรมฯ ชั้น 5 เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ ตามนโยบายผู้บริหาร
พิธีแถลงข่าวการจัดงานOTOP City 2012:๑ ทศวรรษ ๑ ตำบล ๑ ผลิตภัณฑ์ไทยเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานในพิธีแถลงข่าวการจัดงาน OTOP City 2012:๑ ทศวรรษ ๑ ตำบล ๑ ผลิตภัณฑ์ไทยเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาอาคารรัฐประศาสนภักดี โดยมีนายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกล่าวรายงาน และให้การต้อนรับ
เชิญ..ชม..ชิม..ชอป..แชะ.. OTOP CITY 2012
เชิญเที่ยวงาน OTOP CITY 2012: ๑ ทศวรรษ ๑ ตำบล ๑ ผลิตภัณฑ์ไทย เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ รวม ๙ วัน ณ อาคารชาเลนเจอร์ ๑-๓ และฮอลล์ ๑-๖ ศูนย์แสดงสินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี
พิธีปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเครือข่าย OTOP
นายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ให้เกียรติบรรยายพิเศษและเป็นประธานในพิธีปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเครือข่าย OTOP ณ โรงแรมบางกอกพาเลส แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ จัดโดยสำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน

   คำพิพากษาฎีกาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ BETA VERSION
     คำพิพากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญา ฯ คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
     คำวินิจฉัยประธานศาลฎีกา
บทความ / งานวิจัยทรัพย์สินทางปัญญา
     Implementation of IP Mediation in Thailand: An Experience from The US Mediation Techniques by Thanarak Naowarat
     Possibility of Thailand’s Accession to the Convention on Independent Guarantees and Stand-by Letters of Credit, 1995 
     Parallel Imports in Pharmaceuticals : Increase Access to HIV Drugs*
     Odyssey Of Thailand Arbitrations for Contracts between Private Sector and Public Sector
     การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : การถ่ายทอดเทคโนโลยีกับประเด็นด้านทรัพย์สินทางปัญญา
     การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญากับเศรษฐกิจสร้างสรรค์
     พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 : หนึ่งในเครื่องมือเพื่อการปกป้องพันธุ์พืชของไทย
     ข้อยกเว้นของสิทธิบัตรยาตามหลัก Bolar Exception และการคุ้มครองข้อมูลในขั้นตอนของการทดลองยา
บทความ/งานวิจัยการ การค้าระหว่างประเทศ
     Implementation of U.S. Class Arbitrations in Thailand: An Experience from US Alternative Dispute Resolution by Thanarak Naowarat
     ความตกลงการค้าเสรี (FTA) และประเด็นด้านกฎหมายแรงงาน : ผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี และการเตรียมพร้อมรองรับการเปิดเสรีทางการค้าในอนาคต*
  คำพิพากษาที่น่าสนใจ 
     ทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้าสิทธิบัตร
สิทธิของนักแสดง
ละเมิดเครื่องหมายการค้า
ละเมิดสิทธิบัตร
 ฎีกาที่ 3332/2555
     การค้าระหว่างประเทศ
ประกันภัยทางทะเลรับขนของทางทะเล
สัมมนาการเตรียมความพร้อม ทางกฎหมายและธุรกิจสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
  บทบาทของศาลที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิทยากร : นายภัทรศักดิ์ วรรณแสง อธิบดีผู้พิพากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
  ปาฐกถาพิเศษ “การเตรียมความพร้อมของกลุ่มประเทศสมาชิก : ปัญหาการค้าระหว่างประเทศและทรัพย์สินทางปัญญา
โดย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน
  ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิทยากร : นายสมเกียรติ ตรีรัตนพันธ์ รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
  การเตรียมความพร้อมทางด้านกฎหมายของประเทศไทยในการเข้าสูงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิทยากร : นายชาญชัย บุญฤทธิ์ไชยศรี ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายช่วยงานบริหาร ธนาคารแห่งประเทศไทย,นายประพันธ์ พิสมยรมย์ หัวหน้าฝ่ายกฎหมายและระเบียบ 1 สำนักกฎหมาย กรมศุลกากร,นายสิงหเดช ชูอำนาจ ผู้อำนวยการสำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน,ผู้ดำเนินการรายการ:นางฐิดารัตน์ นรินทรางกูร ณ อยุธยา ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำสำนักประธานศาลฎีกา




วิสาหกิจชุมชน
                  
มาตรา ๕ วิสาหกิจชุมชนใดที่จะขอรับการส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรตามระเบียบที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
มาตรา ๖ เมื่อกรมส่งเสริมการเกษตรได้รับคำขอจดทะเบียนและเห็นว่าวิสาหกิจชุมชนที่ยื่นคำขอจดทะเบียนมีลักษณะและวัตถุประสงค์ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ให้กรมส่งเสริมการเกษตรรับจดทะเบียนและออกใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนแก่วิสาหกิจชุมชนนั้น
มาตรา ๗ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนอย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
(๑) ชื่อและที่ตั้งของวิสาหกิจชุมชน
(๒) ชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทนวิสาหกิจชุมชน
(๓) ชื่อและที่อยู่ของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน
(๔) กิจการที่วิสาหกิจชุมชนมีความประสงค์จะดำเนินการ
มาตรา ๘ ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินให้วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียนต่อ กรมส่งเสริมการเกษตรซึ่งประสงค์จะดำเนินกิจการต่อไปแจ้งให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด
วิสาหกิจชุมชนใดไม่แจ้งความประสงค์ตามวรรคหนึ่งเป็นเวลาสองปีติดต่อกัน ให้กรมส่งเสริมการเกษตรมีหนังสือเตือนให้วิสาหกิจชุมชนนั้นแจ้งภายในระยะเวลาที่กำหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน ถ้าไม่มีการแจ้งตามคำเตือนดังกล่าว ให้กรมส่งเสริมการเกษตรถอนชื่อออกจากทะเบียน
วิสาหกิจชุมชนใดประสงค์จะเลิกกิจการให้แจ้งกรมส่งเสริมการเกษตรทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เลิกกิจการ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด
เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน
                  
มาตรา ๙ ให้นำบทบัญญัติในหมวด ๑ มาใช้บังคับแก่การจดทะเบียนจัดตั้ง การแจ้งดำเนินกิจการ และการเลิกกิจการเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนโดยอนุโลม
ให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรแล้วมีสิทธิขอรับการส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้

http://www.indianembassy.org/intellectual-property-rights.php

Intellectual property Rights
India provides protection to Intellectual Property Rights in accordance with its obligations under the TRIPS Agreement of the WTO. The importance of intellectual property in India is well established at all levels- statutory, administrative and judicial.

India has well-established administrative mechanism for enforcement of Intellectual Property Rights. Police officers are empowered to take action against the infringement of IPRs in case of pirated and counterfeit products.

Cases of infringement of IPRs are tried in the judicial courts. Indian Intellectual Property Rights Laws also provide for appeals in the judicial courts of the administrative decisions relating to Intellectual Property Rights.

The Intellectual Property Rights protected under various statues in India are as follows:-

 Patents Copyrights and related rights Trademarks Geographical indications Plant varieties Designs Lay out designs of integrated circuits Protection of undisclosed information

Patents

India has undertaken exhaustive amendment of its Patents Act 1970, three times since 1999. Now Indian Patents Act is fully compliant with India’s obligations under the TRIPS Agreement of the WTO. The three amendments that were carried out since 1999, introduced the following main changes in the old Patents Act:-

1. India carried out first amendment in the Patents Act in 1999 and introduced exclusive marketing rights and mail box facility for inventions relating to chemical and pharmaceutical products. India introduced these transitory provisions as India had availed of the transition period available till 01 January 2005 to developing countries in introducing product patent protection to all areas.
2. India carried out an exhaustive 2nd amendment to the Patents Act in year 2001. This amendment brought the Indian Patents Act in compliance with India’s obligations under the TRIPS Agreement.
3. India again carried out 3rd amendment of the Patents Act in year 2005 and introduced product patents protection for chemicals and pharmaceutical products.

Detailed information about the Indian Patents Act is available at the website of Controller of Patents, Designs and Trademarks at
http://ipindia.nic.in/ipr/patent/patents.htm

The Patents Act 1970
http://ipindia.nic.in/ipr/patent/patAct1970-3-99.html

The Patents (Amendment) Act 1999
http://ipindia.nic.in/ipr/patent/patact_99.PDF

The Patents (Amendment) Act 2002
http://ipindia.nic.in/ipr/patent/patentg.pdf

The Patents (Amendment) Act 2005
http://ipindia.nic.in/ipr/patent/patent_2005.pdf

India (51 texts)

QUICK ACCESS
Laws (31 texts)Implementing Rules/Regulations (20 texts)IP Legal Literature (4 texts)
Treaty Membership (63 texts)Relevant links
India flag


Laws


กรมการพัฒนาชุมชน กำหนดวิสัยทัศน์องค์กรไว้ว่า "เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน" ภายใต้พันธกิจการสร้างพลังชุมชนสร้างระบบการจัดการความรู้ และสร้างระบบบริหารจัดการชุมชน โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ทั้งนี้ มุ่งเน้นการพัฒนา "คน"เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาใน๖ ประเด็น คือ 1.การพัฒนาทุนชุมชน 2.การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง 3.การเพิ่มขีดความสามารถผู้นำชุมชน 4.การขับเคลื่อนแผนชุมชน 5.ส่งเสริมการจัดการความรู้ของชุมชน 6.การเสริมสร้างขีดสมรรถนะองค์กร ยุทธศาสตร์สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิสัยทัศน์ เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน พันธกิจ สร้างพลังองค์กรทางด้านเศรษฐกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็งเพื่อทำให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจชุมชน เป้าประสงค์ เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ กลยุทธ์ 1.ส่งเสริมการสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน 2.ส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ 3.พัฒนาฐานข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน 4.ส่งเสริมการจัดการความรู้ด้านเศรษฐกิจชุมชน



สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย เพื่อกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพและวิสาหกิจชุมชนตามแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง  ดำเนินการประสานงานโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ผลิตภัณฑ์ชุมชน  ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนโดยใช้ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อ เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และบริการของชุมชน ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ รวมถึงด้านการตลาด ประสานงานผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชนตามความรับผิดชอบของส่วน ราชการและปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
แบ่งภารกิจออกเป็น 5 กลุ่มงาน 1 ฝ่าย ดังนี้
1.กลุ่มงานประสานแผนและข้อมูล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานนโยบายยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานของสำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ประสานจัดทำแผนงานโครงการ งบประมาณ แสวงหาความร่วมมือและบูรณาการงานกับหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแล ควบคุมงานให้เป็นไปตามนโยบายทุกระดับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานและปฏิบัติงานอื่นที่ เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

2.กลุ่มงานส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยพัฒนารูปแบบ วิธีการ แนวทางการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดระบบการจัดเก็บและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ยกย่อง เชิดชูและนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการพัฒนาชุมชน ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่นและปฏิบัติงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

3.กลุ่มงานส่งเสริมผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนารูปแบบ วิธีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพและวิสากิจชุมชน จัดทำระบบข้อมูลผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพและวิสาหกิจชุมชน จัดทำและพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพและวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริม สนับสนุนและสร้างให้ผู้ผลิตผู้ประกอบการเป็นนักการตลาด ส่งเสริมและพัฒนารูปแบบการจัดการและการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการกลุ่ม อาชีพและวิสาหกิจชุมชน ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาชีพ และการประกอบการวิสาหกิจชุมชน ดำเนินการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจรและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตาม ที่ได้รับมอบหมาย

4.กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนารูปแบบ วิธีการ แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการของชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดระดับและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และบริการของ ชุมชน ส่งเสริมและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายและเป็นที่ต้องการของตลาด และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

5.กลุ่มงานส่งเสริมการตลาด มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์ วิจัยรูปแบบการตลาด ผลิตภัณฑ์ชุมชน กำหนดแนวทาง ขั้นตอนการคิดค้นรูปแบบ วิธีการส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสริมช่องทางการตลาดแก่กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการและกลุ่มอาชีพ ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการตลาด ประสานภาครัฐและเอกชนเพื่อสร้างความร่วมมือด้านการตลาดทั้งในและต่างประเทศ และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

6.ฝ่ายอำนวยการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป งานสารบรรณ งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุของสำนักและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
กรมการพัฒนาชุมชน กำหนดวิสัยทัศน์องค์กรไว้ว่า "เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน" ภายใต้พันธกิจการสร้างพลังชุมชนสร้างระบบการจัดการความรู้ และสร้างระบบบริหารจัดการชุมชน โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ทั้งนี้ มุ่งเน้นการพัฒนา "คน"เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาใน๖ ประเด็น คือ
1.การพัฒนาทุนชุมชน
2.การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง
3.การเพิ่มขีดความสามารถผู้นำชุมชน
4.การขับเคลื่อนแผนชุมชน
5.ส่งเสริมการจัดการความรู้ของชุมชน
6.การเสริมสร้างขีดสมรรถนะองค์กร
 ยุทธศาสตร์สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
วิสัยทัศน์
เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
พันธกิจ
สร้างพลังองค์กรทางด้านเศรษฐกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็งเพื่อทำให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจชุมชน
เป้าประสงค์
เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้
กลยุทธ์
1.ส่งเสริมการสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน
2.ส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
3.พัฒนาฐานข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน
4.ส่งเสริมการจัดการความรู้ด้านเศรษฐกิจชุมชน

No comments:

CDD Photo Album