Tuesday 18 November 2014

โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนไทย - เวียดนาม














th-TH/เวยดนามไทย/โครงการแลกเปลยนเยาวชนไทย-เวยดนาม
โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนไทย - เวียดนามที่ได้รับการอุปถัมภ์จากกระทรวงการต่างประเทศไทยได้จัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศไทยเมื่อปี 2009 หลังจากนั้นได้มีการสลับกันจัดขึ้น ซึ่งจนถึงขณะนี้ มีเยาวชนสองประเทศประมาณ 144 คนที่เข้าร่วมโครงการนี้แล้ว ท่าน ปัญญารักษ์ พูลทรัพย์ เอกอัครราชทูตไทยประจำเวียดนามได้เผยว่า “ประชาชนของสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดมาเป็นระยะยาวนานในประวัติศาสตร์ ชาวเวียดนามที่เกิดและเคยพำนักที่ประเทศไทยและได้กลับมาอยู่ที่เวียดนามก็ยังมีความรู้สึกผูกพันกับประเทศไทย และเพื่อสานต่อความใกล้ชิดระหว่างประชาชน สถานเอกอัครราชทูต   ณ กรุงฮานอย ร่วมกับกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงศึกษาและการฝึกอบรมเวียดนาม ได้ริเริ่มการดำเนินโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนในรูปแบบสลับการเยือน โดยในปีแรก ได้นำคณะเยาวชนเวียดนามเยือนไทยเมื่อปี 2552 เพื่อเปิดโลกทัศน์และเปิดโอกาสให้เยาวชนไทยและเวียดนามได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งโครงการฯ ก็ได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และได้รับอนุมัติให้จัดขึ้นเป็นเวลา 6 ปีต่อเนื่องกัน
ที่เวียดนาม นครดานังและเมืองเก่าโห๋ยอานได้รับเลือกให้เป็นสถานที่จัดโครงการฯครั้งที่ 2 และ 4 คือเมื่อปี 2010 และ 2012 ส่วนเมื่อปี 2013 โครงการฯได้มีขึ้นในบ้านเนินน้ำคำ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนมและกรุงเทพมหานคร นาย สุริชาติ สายทอง ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมผู้นำชุมชนและอาสาสมัครชุมชน กระทรวงมหาดไทยได้สรุปเกี่ยวกับผลของโครงการฯเมื่อปี 2013 ว่า “ปีที่แล้ว คณะเยาวชนเวียดนามเดินทางไปประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดนครพนมที่มีประชาชนหลายคนเป็นเชื้อชาติเวียดนาม เขามีความรักและความผูกพันกับเยาวชนเวียดนามที่เข้าร่วมกิจกรรมพักแบบโฮมสเตย์มาก มีความรักเหมือนลูก เหมือนคนในครอบครัว และประทับใจเยาวชนเวียดนามที่เป็นคนที่อัธยาศัยดีเหมือนคนไทย มีความอ่อนหวาน น่ารัก ยิ้มเหมือนคนไทย เด็กและเยาวชนทั้ง 2 ประเทศมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน บางคนยังมีการติดต่อสื่อสารกันอยู่ในปัจจุบันด้วยครับ
http://vovworld.vn/th-TH/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1/265525.vov

http://www.volunteerspirit.org/category/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1?page=2

ปีนี้ กระทรวงศึกษาและฝึกอบรมเวียดนามเป็นเจ้าภาพจัดโครงการฯ โดยมหาวิทยาลัยฮานอยเป็นผู้ปฏิบัติ นางฉิ๋งทูห่า เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติโครงการฯของเวียดนามเผยว่า “นอกจากการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและภาษาที่มหาวิทยาลัยฮานอยแล้ว พวกเรายังพาเยาวชนเหล่านี้ไปชมอ่าวฮาลองซึ่งเป็นมรดกของโลกในจังหวัดกว๋างนิง ไปศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิตของชนกลุ่มน้อยเผ่าไทยในหมู่บ้านลาดที่อำเภอมายโจว์ จังหวัดหว่าบิ่งห์และชนกลุ่มน้อยเผ่าอื่นๆในอำเภอหมกโจว์ จังหวัดเซินลา” มอส นักศึกษีปีที่ 3 มหาวิทยาลัยเทคนิคขอนแก่นเผยว่า นี่เป็นครั้งแรกที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการนี้ “มีการฝึกประสบการณ์ในเรื่องของการเข้าหาสังคมและการปรับตัวเข้ากับเพื่อนๆต่างชาติ รวมทั้งการฝึกภาษา เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศเวียดนามและทำความรู้จักกับเพื่อนๆชาวเวียดนามเพื่อเมื่อมีโอกาสไปเวียดนามในอนาคตข้างหน้าก็จะมาเยี่ยมกันนะครับ
ส่วนแหง ตัวแทนของเยาวชนเจ้าภาพที่เข้าร่วมโครงการฯเผยว่า “โอกาสนี้ หนูจะพยายามเสนอวัฒนธรรมของฮานอยและเวียดนามให้แก่เพื่อนๆชาวไทยและช่วยให้พวกเขามีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับประเทศและคนเวียดนาม
“เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการจากทั้งสองประเทศจะได้รับประสบการณ์ที่มีค่าและมีโอกาสสร้างเครือข่ายมิตรภาพในระดับสถาบันการศึกษาและระหว่างเพื่อนเยาวชน การกระชับความสัมพันธ์ระดับประชาชน จะเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาความร่วมมือทวิภาคีด้านต่างๆ ต่อไปในอนาคต” นี่ไม่เพียงแต่เป็นความปรารถนาของท่าน ปัญญารักษ์ พูลทรัพย์ เอกอัครราชทูตไทยประจำเวียดนามเท่านั้น หากยังเป็นการปฏิบัติเป้าหมายเดียวกันของประชาชนเวียดนามและไทยในขณะที่เหลือเวลาอีกไม่มากเราก็จะก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2015./.
Minh Ly - V

Thursday 13 November 2014

Trilateral & South-South Cooperation..More cooperation on rural development and eradicate poverty on next steps?




 Trilateral & South-South Cooperation..More cooperation on rural development and eradicate poverty on next steps?










Thai-German Trilateral Cooperation

asean BiocontrolAfter almost six decades of Thai-German Bilateral Technical Cooperation, Thailand has become an emerging economy with no longer reliance on development assistance, and one of the main actors in the region. In 2008, Thailand and Germany signed MoU on Trilateral Cooperation to form a joint partnership with pool resources for regional development. Under the programme, Thailand and Germany jointly transfer development experiences and technical know-how to support the third partner countries to implement small-scaled trilateral projects in selected sectors i.e. education, rural development and health. Currently, the third partner countries include Cambodia, Lao PDR and Vietnam, and may be extended to Timor Leste and Myanmar. The programme also aims to enhance Thailand’s role as provider of development cooperation and support South-South cooperation focusing on expertise in the region to promote regional wisdom, strength and ownership. The programme is co-funded by Thailand International Development Cooperation Agency (TICA) and the German Federal Ministry for Economic Cooperation and Development (BMZ).
Objectives and Approaches
The objective of the programme is to support capacity building and human resources development of officials and agencies in the partner countries in response to their development needs through the transfer of relevant expertise and technologies from Thailand and Germany. Each year, the programme supports several projects which are implemented jointly between the project counterparts and the designated agencies in Thailand.
Eligible Projects
The programme aims to support several projects annually under the identified sectors in Cambodia, Lao PDR and Vietnam (CLV). A trilateral project is to be implemented jointly between a project counterpart in CLV and a project partner in Thailand, addressing development problems and target groups in CLV. The project may consist of a combination of activities such as training, study visits, seminars, workshops, technical assistance, etc. Where possible, projects should utilize local expertise and resources in order to promote regional wisdom, strength and ownership. The design and structure of the project is to follow the Trilateral Project Design Guideline.
Areas of Cooperation
The areas of cooperation were identified during trilateral cooperation workshops between Thailand, Germany, Cambodia, Lao PDR and Vietnam as the priority areas which fit the demand from the partner countries and are suitable for the new framework:
  • Education and vocational education
  • Rural development, incl. agriculture, micro-finance and SME development
  • Health
  • More about the Thai - German Trilateral Cooperation Programm. (brochure, video)
Projects
  • Paper Mulberry Supply Chain Project (Lao PDR) 
    (video part 1 and 2)
  • Nam Xong Sub-River Basin Management (Lao PDR) (brochure)
  • Strengthening National Good Agricultural Practice (GAP)(Lao PDR) (brochure)
  • Advanced Technical Services for SME in Selected Industries (Vietnam)
  • Strengthening Cooperative Management in Western Highland and Central Region of Vietnam (Vietnam)
Contact
Thailand International Development Cooperation Agency 
Mr. Prerks Poontawesuke 
First secretary 
Email: prerksp@hotmail.com 

GIZ Office Bangkok 
Ms. Jarukan Rassiri 
Programme Coordinator 
E-mail: jarukan.rassiri@giz.de
Tel: +662 661 9273 ext 62 
Fax: +662 661 9281, 82

Trilateral & South-South Cooperation



Thai-German Technical Cooperation

Thailand is a partner country of German Development Cooperation since 1956. More than 200 projects have been jointly implemented to meet Thailand’s development goals. Cooperation covers many areas, with commitment and participation from hundreds of public and private institutions working to create sustainable development through e ective change processes and capacity developmen.

Today the cooperation also covers regional cooperation within the ASEAN integration process. In addtion, Thailand is also engaged as a donor in development cooperation within the Thai-German Development Cooperation Partnership Programme. [ more ]

http://www.thai-german-cooperation.info/


Other Services

Aside from the usual project-based technical cooperation between Goverments, German International Cooperation (GIZ) also implements other ways and instruments of technical cooperation:


Public Relations News

http://www.tica.thaigov.net/main/en/news/1487/page-1.html

CDD Photo Album