ที่ถามมาลองเสนอดู ชอบเนื้อหาในแผ่นพับจัง แม้ดูเรียบก็ไม่เป็นไร
เรียน หน.กลุ่ม/ฝ่าย และเจ้าหน้าที่กองแผนงานทุกท่าน ตามที่ กองแผนงาน
ได้ให้เจ้าหน้าที่ทุกท่านได้ทำการจัดความรู้รายบุคคล
และให้กลุ่มฝ่ายคัดเลือกองค์ความรู้ดีเด่นของกลุ่มฝ่าย
เพื่อดำเนินการประชาสัมพันธ์และดำเนินการถ่ายทอดความรู้
ประจำเดือน เมษายน 58 ตามหนังสือ กองแผนงานที่ 0404.5/221
ลว. 17 มี.ค.58 บัดนี้
ได้ล่วงเลยกำหนดแล้ว จึงขอความกรุณาดำเนินการด้วยครับ ขอบคุณครับ++
ส่ง ASEAN Corner forum นัดถกประเด็นอาเซียนกันเถอะ มีแขกรับเชิญ และ case
study และศึกษาดูงานต่างประเทศโดยจ่ายเองส่วนตัว กลุ่มเป้าหมาย คือในและนอกกองแผนงาน
โดย มีประเด็น ข้อถกเถียงดังนี้
เราจะแก้ปัญหาจากผลกระทบกันอย่างไร เมื่อเราเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
อย่างเป็นทางการ
เรามีมิติสามเสา แล้วเราจะพัฒนากันอย่างไร ในเรื่องที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน
เนื่องจากในมิติทางการค้าและสังคมและการเมือง เราได้เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
อย่างไม่เป็นทางการมาตั้งนานแล้ว มีการค้า มีการร่วมมือทางการเมืองอย่างหลวมๆ
แม้จะไม่ใช่ระบบสภาหนึ่งเดียวเหมือนสหภาพยุโรป ในการใช้ฉันทามติร่วมกัน consensus
ของประเทศในภูมิภาค
เราก็ไม่ยุ่งเกี่ยวกิจการภายในซึ่งกันและกันอยู่ แม้ว่า เราและประเทศนอกประชาคม
จะพยายามแสวงหาข้อมูลทั้งจากภายนอกและภายในหรือ ข่าวกรอง
ข่าวสารที่น่าเชื่อถือต่างๆ ก็ตาม ในทุกแหล่ง เพื่อใหเกิดผลประโยชน์ ในทางเศรษฐกิจ
สังคม และการเมืองแก่ ประเทศของตน
เมื่อมีการรวมตัวกัน ผลกระทบด้านสังคม น่าจะมีหลากหลายเผ่าพันธุ์ และในทางการค้าและลงทุน
การค้าขาย การอพยพ การลงทุน การใช้แรงงานต่างๆ จะหลากหลาย
มาตรฐานของการใช้แรงงานหรือการค้าการลงทุนยกระดับไปสู่สังคมที่ดีขึ้นได้
หากร่วมกันพัฒนา แรงงานและทุนมนุษย์ รวมทั้งกลไกภาครัฐ ต่างๆ ที่สามารถ ขับเคลื่อน
นโยบายนั้นๆ เช่น การพัฒนา ด้าน ทุน ของกรม จะมีความทันสมัยมากขึ้น หรือไม่ เมือ่
เราต้อง มีการเชื่อมประสานจากสิบประเทศ เมื่อเราไม่สามารถ เป็นการรวบรวม
การต่อรองการค้า การเมืองและสังคม ได้แบบประชาคม อียู สำนักทุน หรือ กองทุนหมู่บ้าน
หรือกองทุนพัฒนาบทบาท สตรี จะสามารถ หาแหล่งทุน หรือระดมทุน ได้จาก แหล่งทุน
ในประเทศ เช่นการจัดสรรงบประมาณ หรือการบริจาค อย่างช่องทางเดียว หรือไม่
เราสามารระดมทุน เพื่อองค์กร เหมือนการบริหารจัดการกองทุน ของ สสส หรือองค์กร
มหาชน อื่นๆ หรือไม่
เมื่อ ได้เงิน มา จะสรรหาบุคลากร ที่มีความสามารถ
จ้างเข้ามาบริหารจัดการ และจัดการ ระดมทุน เพื่อ ให้ได้ ทุน ต่างๆ มาใช้ประโยชน์
หรือไม่
เรื่องเกี่ยวกับสังคม ในแง่หรือเนื้อของการพัฒนา บัดนี้ ประเทศไทย
พร้อมจะเป็นผู่นำหรือไม่ในเรื่องของการผลิตผู้นำ ที่เป็น best practice จากโครงการความเข้มแข็งต่างๆ
ซึ่ง ในส่วนของสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็ง จะยังคงสามารถ
สร้างความเข้มแข็งและเป็นต้นแบบ วิธีการ ให้แก่ประเทศ อื่น ซึ่งเป็นสมาชิกอาเซียน
หรือไม่
ในเรื่องเกี่ยวกับนโยบายภาครัฐ และบริบททางการเมือง ในเรื่องเหล่านี้
ทางภาครัฐ เร่งบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ ในอาเซียนอยู่แล้ว ภาคเอกชน ย่อมทำมาหากิน ในกิจการค้าของท่าน
ให้ได้ มาซึ่งผลกำไร และมีภาษีหรือปันผลให้แก่กลไกภาครัฐ ให้เหมาะสม เพื่อให้รัฐ
ได้มีงบประมาณพอในการบริหารจัดการให้ดูแลภาคเอกชนทุกระดับ
ซึ่งงานของกรมการพัฒนาชุมชน และกองแผนงาน เน้นในเรื่องการบริหารจัดการรากหญ้า
จึงเป็นเรื่องจำเป็นต้องดูแลให้ได้รับการแบ่งปันผลประโยชน์ ที่เหมาะสม
ในเรื่องที่กรม รับผิดชอบดูแลอยู่โดยความเป็นธรรม ทุกฝ่าย
ด้านสังคม นั้น กองแผนงาน ทำแผน เกี่ยวกับ
การเสริมสร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดความยากจน
ซึ่งในเรื่องของการให้และไม่สร้างความเข้มแข็ง เป็นเรื่องของ social
welfareซึ่งเป็นเรื่องของกระทรวงพัฒนาสังคม ฯ ซึ่ง ทางบุคลากรและภารกิจ
ของกรม ฯ ไม่ได้เกี่ยวข้องด้วย โดยตรง
แต่หากมีการเซิญเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมแลกเปลี่ยนด้วย
ในเรื่องของการให้สวัสดิการสังคม ขอได้โปรดเชิญมา บุคลากรของเรามีความสามาร
ยิ่งหากเป็นการเชิญโดยให้ค่าใช้จ่าย มาด้วย เรายินดีจะไปเกี่ยวข้องด้วยทั้งหมด
เพราะ กระทรวงเราไม่ต้องจ่ายเงินต้นสังกัด ยิ่งเป็นแหล่งทุน ของต่างชาติ
ที่มีเจตจำนงวัตถุประสงค์ ที่ตรงกับ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรม หรือสำนัก
กองต่างๆ นั้น โปรดแจ้งมา เราจะส่งตัวแทนที่คัดกรองในการใช้แหล่งทุนของฟรีเหล่านี้
ไปในบัดดล โดยไม่เกิดผลประโยชน์ซ้ำซ้อน หรือเลือกปฎิบัติ
แต่อย่างไร เนื่องจากมีการคัดกรองที่เหมาะสม เป็นกลุ่มที่ ต้อง
ขับเคลื่อนงานโดยตรง และเกิดผลประโยชน์ แก่ ประเทศ ชาติ อย่างใหญ่หลวงยิ่งนัก
ส่วนความร่วมมือที่ต้องจ่ายโดยบุคคลกร ส่วนตัวหรืองบต้นสังกัด
เช่นการพัฒนาบุคลากร นั้น โปรดจ่ายเอาเอง เพราะ
คนที่ที่คู่ควรต้องจ่ายส่วนตัวคือบุคลากร ทั้งหมดขององค์กร ต้องพัฒนาตัวเอง เอาเอง
เพราะ เราจะจ่าย ให้เฉพาะบุคลากร ที่ ได้รับคัดสรร แล้วเท่านั้น ไม่ใช่การเลือกปฎิบัติแต่อย่างใด
เช่น ในปีที่จะถึง บุคลากร ของทางราชการทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาด้านภาต่างประเทศ
ก็โปรดไปหาเรียนเพิ่มเติม กันเอาเองทุกคน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษากัมพูชา
ภาษาพม่า เป็นต้น ไม่จำเป็นต้องมี score
หรือการวัดผลในระดับมาตรฐานอย่าง
คะแนน โทเฟล หรือ ไอเอล หรืออื่นๆ เพราะภาครัฐ หรือต้นสังกัด
ไม่ได้ให้เบิกอย่างภาคเอกชน ซึ่งสนับสนุนบุคลากร
ให้ไปเรียนในสถานสอนภาษาภาคเอกชนที่ได้มาตรฐาน และมาเบิกที่บริษัท เพราะ บริษัท
ต้องการผลกำไร แต่ประเทศ ไม่ได้หวังผลกำไร และทำผลประโยชน์ ร่วมกันได้ mutual benefit
ทั้งบุคลากร ในภาครัฐและเอกชนของประเทส เราเอง และอื่นๆ อีกเก้าประเทศนั้น
ข้อเสนอแนะ
1.
การพัฒนา องค์ความรู้ในการจัดการความรู้ ไม่ควร
หา วิทยากร มาทำโครงการ เพียงภายในองค์กร เท่านั้น ทุกท่าน ต้อง หาองค์ความรู้จาก
ภายนอก ด้วย โดย ทุกคน มีส่วน ในงบประมาณ พัฒนาบุคลากร หรือเบิกต้นสังกัดได้
โดยเฉพาะความรู้ เกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบ จากการรวมตัว ทางประชาคมอาเซียน การ
กีดกันทางการค้า และ การผูกขาดทางการค้า เป็นต้น
2.
ความรู้ในเรื่องการเมือง การปกครอง และ
การบริหารจัดการ ภาครัฐ ที่แตกต่างกัน ย่อม ต้อง ทำให้เกิดข้อพิพาท และผลกระทบ
ต่างๆ เช่นกัน ซึ่งการ แก้ไขปัญหาล่วงหน้า ในเรื่องของความสัมพันธ์ นับเป็น
เรื่องสำคัญ และต้องตอบแทน บุคลากร ที่ทำงานเหล่านี้ เช่น งาน เสี่ยงภัย งานชายแดน
เป็นตัวเงิน เกียรติยศ ไม่ใช่ การให้ไปต่างประเทศ ในทุกโครงการ ที่บุคคลกากร อื่น
ต้องไป ได้ ทุกคน หากต้องการตอบแทน
ต้องให้ไปทัศนศึกษาต่างประเทศ ในประเทศ เป้าหมายทุกคน
และนำมาเบิกค่าใช้จ่ายได้
ไม่ใช่การตั้งเป้าหมายทรัพยากร ว่า ต้องรู้ชำนาญ ในประเทศ เป้าหมาย แต่ ไม่จ่าย
ให้ไปทัศนศึกษาหรือศึกษาดูงาน
3.
ด้านเกี่ยวกับเศรษฐกิจ นับว่า กรมฯ ประสบความสำเร็จในเรื่องของการส่งเสริมวิสาหกิจขนากกลาง
ย่อม และเล็ ก และ ในเรื่อง การพัฒนาทุน ด้วย รวมทั้งการส่งเสริมรายได้
จากสินค้าโอทอป เป็น ต้น เราจะทำอย่างไร ให้สามารถ ดูแล ให้ ประเทศ สมาชิกอาเซียน
ได้ มีทุน และมีรายได้ เช่น ประเทศ เราได้ บ้าง นับเป็นประโยชน์ ในการเพิ่มรายได้
และการมีงานทำแก่ ประชาชน ในภูมิภาคอาเซียนนี้